|
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : YqeSAzhMon14539.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : nTuOBgfMon14850.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
../add_file/ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
ชื่อไฟล์ :
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
../add_file/
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ชื่อไฟล์ : คำถาม :
ตอบ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: คำถาม :
ตอบ :../add_file/คำถาม :
ตอบ :
ชื่อไฟล์ : การพัฒนาระบบของเรา
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: การพัฒนาระบบของเรา
../add_file/การพัฒนาระบบของเรา
ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุงข้อมูล...
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุงข้อมูล...
../add_file/ รอปรับปรุงข้อมูล...
ชื่อไฟล์ :
(นายอริสมันต์ บุตรอินทร์)
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายธนภูมิ โพธิ์หล้า)
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายสีทน สีใส)
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายอริสมันต์ บุตรอินทร์)
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายธนภูมิ โพธิ์หล้า)
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายสีทน สีใส)
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
(นายอริสมันต์ บุตรอินทร์)
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายธนภูมิ โพธิ์หล้า)
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายสีทน สีใส)
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
../add_file/
(นายอริสมันต์ บุตรอินทร์)
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายธนภูมิ โพธิ์หล้า)
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
(นายสีทน สีใส)
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
ชื่อไฟล์ : วัดป่าโพนพระเจ้า
ปูชนียวัตถุ แหล่งมรดกโลกตำบลนายูง
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: วัดป่าโพนพระเจ้า
ปูชนียวัตถุ แหล่งมรดกโลกตำบลนายูง
../add_file/วัดป่าโพนพระเจ้า
ปูชนียวัตถุ แหล่งมรดกโลกตำบลนายูง
ชื่อไฟล์ :
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
1. สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทางราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
-2-
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
1. ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
2. อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
3. ลักษณะแหล่งน้ำ
1.แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก - ห้วยฮี - ห้วยโพธิ์
-3-
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1.บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
1. สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทางราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
-2-
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
1. ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
2. อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
3. ลักษณะแหล่งน้ำ
1.แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก - ห้วยฮี - ห้วยโพธิ์
-3-
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1.บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
1. สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทางราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
-2-
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
1. ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
2. อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
3. ลักษณะแหล่งน้ำ
1.แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก - ห้วยฮี - ห้วยโพธิ์
-3-
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1.บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
../add_file/
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
1. สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทางราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
-2-
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
1. ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
2. อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
3. ลักษณะแหล่งน้ำ
1.แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก - ห้วยฮี - ห้วยโพธิ์
-3-
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1.บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ชื่อไฟล์ : วิสัยทัศน์
มุ่งสร้างชุมชนผู้ไทยเข้มแข็ง ร่วมแรงพัฒนา ประชาเป็นสุข อนุรักษ์ประเพณีอย่างยั่งยืน
พันธกิจ
1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำ
2.บำรุงส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน
3.ส่งเสริมการศึกษา
4.กำจัดมูลฝอย สิ่งปฎิกูล และน้ำเสีย
5.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
6.ให้ความสำคัญความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
7.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงาน
8.ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: วิสัยทัศน์
มุ่งสร้างชุมชนผู้ไทยเข้มแข็ง ร่วมแรงพัฒนา ประชาเป็นสุข อนุรักษ์ประเพณีอย่างยั่งยืน
พันธกิจ
1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำ
2.บำรุงส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน
3.ส่งเสริมการศึกษา
4.กำจัดมูลฝอย สิ่งปฎิกูล และน้ำเสีย
5.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
6.ให้ความสำคัญความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
7.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงาน
8.ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง
../add_file/วิสัยทัศน์
มุ่งสร้างชุมชนผู้ไทยเข้มแข็ง ร่วมแรงพัฒนา ประชาเป็นสุข อนุรักษ์ประเพณีอย่างยั่งยืน
พันธกิจ
1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำ
2.บำรุงส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน
3.ส่งเสริมการศึกษา
4.กำจัดมูลฝอย สิ่งปฎิกูล และน้ำเสีย
5.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
6.ให้ความสำคัญความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
7.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงาน
8.ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
สภา
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : " class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : บทบาทหน้าที่
อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมีหมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากร ให้ตามความจำเป็นและสมควร
3. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 68)
1) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
2) ให้มีการบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
3) ให้มีการบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
5) ให้มีการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
8) การคุ้มครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
12) การท่องเที่ยว
13) การผังเมือง
4. การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้าตามสมควร หาก อบต. มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้นำความเห็นของ อบต. ไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย (มาตรา 69)
5. การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด (มาตรา 69/1)
6. มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการ ของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (มาตรา 70)
7. ออกข้อบัญญัติ อบต. เพื่อใช้บังคับในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ของ อบต. ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกิน 1,000 บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา 71)
8. อาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการของ อบต. เป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม (มาตรา 72)
9. อาจทำกิจการนอกเขต อบต. หรือร่วมกับสภาตำบล อบต. อบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ (มาตรา 73)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
1. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (มาตรา 16)
(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
(5) การสาธารณูปการ
(6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ
(7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(9) การจัดการศึกษา
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
(14) การส่งเสริมกีฬา
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ
(24) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
(25) การผังเมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน
(31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องที่ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
2. อำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามข้อ 1 ต้องดำเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนและการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ”อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมี 2 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราช ใช้บัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: บทบาทหน้าที่
อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมีหมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากร ให้ตามความจำเป็นและสมควร
3. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 68)
1) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
2) ให้มีการบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
3) ให้มีการบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
5) ให้มีการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
8) การคุ้มครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
12) การท่องเที่ยว
13) การผังเมือง
4. การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้าตามสมควร หาก อบต. มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้นำความเห็นของ อบต. ไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย (มาตรา 69)
5. การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด (มาตรา 69/1)
6. มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการ ของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (มาตรา 70)
7. ออกข้อบัญญัติ อบต. เพื่อใช้บังคับในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ของ อบต. ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกิน 1,000 บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา 71)
8. อาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการของ อบต. เป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม (มาตรา 72)
9. อาจทำกิจการนอกเขต อบต. หรือร่วมกับสภาตำบล อบต. อบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ (มาตรา 73)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
1. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (มาตรา 16)
(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
(5) การสาธารณูปการ
(6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ
(7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(9) การจัดการศึกษา
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
(14) การส่งเสริมกีฬา
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ
(24) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
(25) การผังเมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน
(31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องที่ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
2. อำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามข้อ 1 ต้องดำเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนและการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ”อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมี 2 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราช ใช้บัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น../add_file/บทบาทหน้าที่
อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมีหมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากร ให้ตามความจำเป็นและสมควร
3. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 68)
1) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
2) ให้มีการบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
3) ให้มีการบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
5) ให้มีการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
8) การคุ้มครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
12) การท่องเที่ยว
13) การผังเมือง
4. การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้าตามสมควร หาก อบต. มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้นำความเห็นของ อบต. ไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย (มาตรา 69)
5. การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด (มาตรา 69/1)
6. มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการ ของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (มาตรา 70)
7. ออกข้อบัญญัติ อบต. เพื่อใช้บังคับในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ของ อบต. ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกิน 1,000 บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา 71)
8. อาจขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการของ อบต. เป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม (มาตรา 72)
9. อาจทำกิจการนอกเขต อบต. หรือร่วมกับสภาตำบล อบต. อบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ (มาตรา 73)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
1. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (มาตรา 16)
(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
(5) การสาธารณูปการ
(6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ
(7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(9) การจัดการศึกษา
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
(14) การส่งเสริมกีฬา
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ
(24) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
(25) การผังเมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน
(31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องที่ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
2. อำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามข้อ 1 ต้องดำเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนและการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ”อำนาจหน้าที่
โครงสร้างรวมและอำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล
และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
องค์การบริหารส่วนตำบล
1. เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล : มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม : การจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. สภา อบต. ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบต. ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขต อบต. นั้น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน หมู่บ้านละ 2 คน : อบต. ใดมี 2 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน : ถ้ามี 1 หมู่บ้านให้มีสมาชิก 6 คน มีอายุคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 45)
2. สภา อบต. มีประธานสภา อบต. 1 คน รองประธานสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากสมาชิกให้นายอำเภอแต่งตั้ง (มาตรา 48) ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. (มาตรา 49) และมีเลขานุการสภา อบต. 1 คน ซึ่งสภาเลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา อบต. ดำรงตำแหน่งจนครบอายุของสภา อบต. หรือมีการยุบสภา อบต. หรือสภา อบต. มีมติให้พ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 57)
3. การประชุมสภา อบต. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 - 4 สมัย แล้วแต่สภา อบต. จะกำหนด : สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 58) : เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของ อบต. สามารถขอเปิดประชุมวิสามัญได้ สมัยประชุมวิสามัญให้กำหนดไม่เกิน 15 วัน (มาตรา 53)
อำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. เลือกประธานสภา รองประธานสภา (มาตรา 48) และ เลขานุการสภา อบต. (มาตรา 57)
2. รับทราบนโยบายของนายก อบต. ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่และรับทราบรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่นายก อบต. ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
3. มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 46 ดังนี้
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
(2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ อบต. ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
(3) ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. ในที่ประชุมสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. มีสิทธิตั้งกระทู้ถามต่อนายก อบต. หรือรองนายก อบต. ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ (มาตรา 56/1) : เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 58/7) + นายก อบต.
1. อบต. มีนายก อบต. 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือหรือผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 58) : ดำรงตำแหน่งนับแต่วันเลือกตั้งและมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ (มาตรา 58/2)
2. นายก อบต. สามารถแต่งตั้งรองนายก อบต. ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา อบต. ได้ไม่เกิน 2 คน : แต่งตั้งเลขานุการนายก อบต. ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกสภา อบต. หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ 1 คน (มาตรา 58/3)
อำนาจหน้าที่ของนายก อบต.
1. ก่อนเข้ารับหน้าที่ นายก อบต. ต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติ หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งต่อสมาชิกสภา อบต. ทุกคน และจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. เป็นประจำทุกปี (มาตรา 58/5)
2. มีอำนาจหน้าที่ ตามมาตรา 59 ดังนี้
(1) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
(2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
(3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก อบต. และเลขานุการนายก อบต.
(4) วางระเบียบเพื่อให้งานของ อบต. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
(5) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ อบต.
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น
3. ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบต. ตามกฎหมาย และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. (มาตรา 60)
4. นายก อบต. รองนายก อบต. หรือผู้ซึ่งนายก อบต. มอบหมายมีสิทธิเข้าประชุมสภา อบต. และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 58/6)
5. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานและรองประธานสภา อบต. หรือสภา อบต. ถูกยุบตามมาตรา 53 หากมีกรณีที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สำคัญของราชการหรือราษฎร นายก อบต. จะดำเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จำเป็นก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกประธานสภา อบต. แล้วให้เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเลือกตั้งประธานสภา อบต. (มาตรา 58/5 วรรคสอง)
6. กรณีนายก อบต. ปฏิบัติการที่อาจเสียหายแก่ อบต. หรือราชการ และนายอำเภอได้ชี้แจงแนะนำตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนที่จะรอช้าไม่ได้ นายอำเภอมีอำนาจออกคำสั่งระงับการปฏิบัติราชการของนายก อบต. ไว้ตามที่เห็นสมควรได้ แล้วรีบรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 15 วัน เพื่อวินิจฉัยตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว : การกระทำของนายก อบต. ที่ฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว ไม่มีผลผูกพันกับ อบต. (มาตรา 90)
7. เป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติ อบต. (มาตรา 71) ร่างข้อบัญญัติประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (มาตรา 87)
8. เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ อบต. (มาตรา 65)
พนักงานส่วนตำบล
1. พนักงานส่วนตำบล หมายถึง ข้าราชการซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการของ อบต. โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ อบต. หรือจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ อบต. และ อบต. นำมาจัดเป็นเงินเดือนของพนักงานส่วนตำบล
2. ปลัด อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างของ อบต. รองนายก อบต. และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำของ อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่นายก อบต. มอบหมาย
3. การบริหารงานบุคคลของ อบต. ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. อบต. จะวิเคราะห์บทบาทภารกิจอำนาจหน้าที่ และรายได้ของตนเองเพื่อกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ และอัตรากำลังตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยปกติทุก อบต. จะมีตำแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
(1) ปลัด อบต.
(2) รองปลัด อบต.
(3) ผู้อำนวยการกองคลัง
(4) ผู้อำนวยการกองช่าง
(5) ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ประชาชนในเขต อบต.
1. ได้รับการแก้ไขปัญหาพัฒนาความเป็นอยู่และการบริการสาธารณะจาก อบต. ตามอำนาจหน้าที่ของ อบต.
2. มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต.
3. มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอให้ออกข้อบัญญัติ อบต.
4. มีสิทธิเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการซื้อการจ้าง โดยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และวิธีพิเศษของ อบต. อย่างน้อยคณะละ 2 คน
5. มีสิทธิเข้าฟังการประชุมสภา อบต.
6. มีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภา อบต. หรือผู้บริหาร อบต. ตามกฎหมายกำหนด หากเห็นว่าผู้นั้นไม่สมควรดำรงตำแหน่งต่อไป
7. มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. และนายก อบต. โดยตรง
8. มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบัญญัติของ อบต.
9. มีหน้าที่เสียภาษีให้แก่ อบต. อย่างถูกต้อง
10.สนับสนุนการดำเนินงานของ อบต. และร่วมกิจกรรมกับ อบต.
11. ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบและแนะนำการทำงานของ อบต.
12. มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ อบต. ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
อำนาจหน้าที่ ตามพระราช ใช้บัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
1. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
2. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (มาตรา 67)
1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
ชื่อไฟล์ :
ด้านหัตถกรรมจักสาน
1.นายสุบิน นิกรกุล
2.นางจันทร์ไทย หาญพังงู
3.นายคูณ บุตรอินทร์
4.นายเขียว สอนสกุล
ด้านดนตรีท้องถิ่น
1.นายวิทยา นิกรกุล
2.นายคูณ บุตรอินทร์
3.นายคำสิงห์ ผ่านชมภู
4.นายสวน บุตรอินทร์
ด้านรักษาแผนโบราณ
1.นายท่ม บุตรอินทร์
2.นายบวน เกษโสภา
3.นายเบื้อน ทองคำ
ด้านบายศรี
1. นางเม้า ทองคำ
2. นางบังอร นิกรกุล
3. นางสาวชาลิณี นิกรกุล
ด้านศิลปลำภูไท
1. นางนารี บุตรอินทร์
2. นางป่าย บุตรอินทร์
ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน
1. นายสุบิน นิกรกุล
2. นางสาวรัชนีกร นิกรกุล
ด้านหมอสูตร
1. นายคำสิงห์ วรรณกุล
2. นายเสบียง ผ่านชมภู
ด้านหัตถกรรมจักสาน
1.นายสุบิน นิกรกุล
2.นางจันทร์ไทย หาญพังงู
3.นายคูณ บุตรอินทร์
4.นายเขียว สอนสกุล
ด้านดนตรีท้องถิ่น
1.นายวิทยา นิกรกุล
2.นายคูณ บุตรอินทร์
3.นายคำสิงห์ ผ่านชมภู
4.นายสวน บุตรอินทร์
ด้านรักษาแผนโบราณ
1.นายท่ม บุตรอินทร์
2.นายบวน เกษโสภา
3.นายเบื้อน ทองคำ
ด้านบายศรี
1. นางเม้า ทองคำ
2. นางบังอร นิกรกุล
3. นางสาวชาลิณี นิกรกุล
ด้านศิลปลำภูไท
1. นางนารี บุตรอินทร์
2. นางป่าย บุตรอินทร์
ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน
1. นายสุบิน นิกรกุล
2. นางสาวรัชนีกร นิกรกุล
ด้านหมอสูตร
1. นายคำสิงห์ วรรณกุล
2. นายเสบียง ผ่านชมภู
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
ด้านหัตถกรรมจักสาน
1.นายสุบิน นิกรกุล
2.นางจันทร์ไทย หาญพังงู
3.นายคูณ บุตรอินทร์
4.นายเขียว สอนสกุล
ด้านดนตรีท้องถิ่น
1.นายวิทยา นิกรกุล
2.นายคูณ บุตรอินทร์
3.นายคำสิงห์ ผ่านชมภู
4.นายสวน บุตรอินทร์
ด้านรักษาแผนโบราณ
1.นายท่ม บุตรอินทร์
2.นายบวน เกษโสภา
3.นายเบื้อน ทองคำ
ด้านบายศรี
1. นางเม้า ทองคำ
2. นางบังอร นิกรกุล
3. นางสาวชาลิณี นิกรกุล
ด้านศิลปลำภูไท
1. นางนารี บุตรอินทร์
2. นางป่าย บุตรอินทร์
ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน
1. นายสุบิน นิกรกุล
2. นางสาวรัชนีกร นิกรกุล
ด้านหมอสูตร
1. นายคำสิงห์ วรรณกุล
2. นายเสบียง ผ่านชมภู
../add_file/
ด้านหัตถกรรมจักสาน
1.นายสุบิน นิกรกุล
2.นางจันทร์ไทย หาญพังงู
3.นายคูณ บุตรอินทร์
4.นายเขียว สอนสกุล
ด้านดนตรีท้องถิ่น
1.นายวิทยา นิกรกุล
2.นายคูณ บุตรอินทร์
3.นายคำสิงห์ ผ่านชมภู
4.นายสวน บุตรอินทร์
ด้านรักษาแผนโบราณ
1.นายท่ม บุตรอินทร์
2.นายบวน เกษโสภา
3.นายเบื้อน ทองคำ
ด้านบายศรี
1. นางเม้า ทองคำ
2. นางบังอร นิกรกุล
3. นางสาวชาลิณี นิกรกุล
ด้านศิลปลำภูไท
1. นางนารี บุตรอินทร์
2. นางป่าย บุตรอินทร์
ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน
1. นายสุบิน นิกรกุล
2. นางสาวรัชนีกร นิกรกุล
ด้านหมอสูตร
1. นายคำสิงห์ วรรณกุล
2. นายเสบียง ผ่านชมภู
ชื่อไฟล์ : ภาษีบำรุงท้องที่คืออะไร
ความหมายของภาษีบำรุงท้องมีดังนี้
เป็นภาษี ที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน ตามราคาปานกลางที่ดินและตามบัญชีอัตราภาษีบำรุงท้องที่ที่ดินที่ต้องเสีย
ภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ ที่ดินที่เป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิในที่ดิน หรือสิทธิครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิของเอกชน
ที่ดินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ พื้นที่ดิน และพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ำด้วย โดยไม่เป็นที่ดินที่เจ้าของที่ดินได้รับการยกเว้นภาษีหรืออยู่ในเกณฑ์ลดหย่อน
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษีบำรุงท้องที่
การยื่นแบบพิมพ์
ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ภายในเดือนมกราคม ทุกๆ 4 ปี
หากไม่ยื่นภายในกำหนด เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของภาษีที่ต้องชำระ
ยื่นชำระภาษีภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ยื่นชำระภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องชำระ
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดงและยื่นเพื่อเสียภาษี
หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของที่ดิน เช่น โฉนด หรือ น.ส.๓
-ใบเสร็จที่ชำระไว้ครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน
กรณีเจ้าของที่ดินไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้ทำหนังสือมอบหมายให้บุคคลอื่น ไปดำเนินการแทนก็ได้
โดยผู้แทนต้องนำบัตรประจำตัวประชาชนและหลักฐานดังกล่าวข้างต้นไปด้วย
แบบแสดงรายการที่ดิน (แบบ ภ.บ.ท.๕)
ค่าธรรมเนียม
การขอชำระค่าภาษีบำรุงท้องที่ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆ
เงินเพิ่ม
ให้เจ้าของที่ดินเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ในกรณีและอัตราดังนี้
(1) ไม่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินภายในเวลาที่กำหนดให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินจะได้แจ้งให้ทราบถึงการละเว้นนั้น ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละห้าของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
(2) ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินโดยไม่ถูกต้องทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของภาษีบำรุงท้องที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้มาขอแก้ไขแบบแสดงรายการที่ดินให้ถูกต้องก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมิน
(3) ชี้เขตแจ้งจำนวนเนื้อที่ดินไม่ถูกต้องต่อเจ้าพนักงานสำรวจ โดยทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มอีกหนึ่งเท่าของภาษีบำรุงท้องที่ที่ประเมินเพิ่มเติม
(4) ไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในเวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละยี่สิบสี่ต่อปีของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ไม่ให้นำเงินเพิ่มตาม (1) (2) หรือ (3) มาคำนวณเพื่อเสียเงินเพิ่มตาม (4) ด้วยเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นภาษีบำรุงท้องที่
การชำระภาษี
(1) ในปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน ให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน กรณีได้รับแจ้งการประเมินหลังเดือนมีนาคมให้ชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
(2) กรณีอื่น ๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
การขอผ่อนชำระภาษี
ถ้าภาษีบำรุงท้องที่ที่ต้องชำระมีจำนวนตั้งแต่สามพันบาทขึ้นไป ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะขอผ่อนชำระเป็นสามงวด งวดละ เท่า ๆ กันก็ได้ โดยแจ้งความจำนงเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี และให้ชำระงวดที่หนึ่งก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี งวดที่สองภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่หนึ่ง งวดที่สามภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่สอง
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดของศาล ให้มีการลดจำนวนเงินที่ได้ประเมินไว้ให้แจ้งผู้มีหน้าที่เสียภาษีทราบโดยเร็ว เพื่อมาขอรับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ผู้ใดเสียภาษีบำรุงท้องที่โดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควรต้องเสียผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้เสียภาษี
การเร่งรัดภาษีค้างชำระ
ภาษีบำรุงท้องที่จำนวนใดที่เจ้าพนักงานประเมิน ได้แจ้งหรือประกาศการประเมินแล้วถ้ามิได้ชำระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือเป็นภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งทรัพย์สินของผู้ค้างชำระ อาจถูกยึด อายัดหรือขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ
การอุทธรณ์
เจ้าของที่ดินมีสิทธิ์อุทธรณ์ได้ 2 กรณี คือกรณีไม่เห็นพ้องด้วยกับราคาปานกลางของที่ดิน และกรณีที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้องการยื่นอุทธรณ์ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมินภายในกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินไม่เห็นพ้องด้วยกับการตีราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของที่ดินได้พิจารณากำหนดไว้ตามประกาศ เจ้าของที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์การตีราคาปานกลางของที่ดินได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน
(2) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วหากเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องก็สามารถอุทธรณ์การประเมินได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
ทั้ง 2 กรณีดังกล่าวนี้ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานเขตท้องที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ตามที่เจ้าของที่ดินยื่นมาแล้วแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นหนังสือไปยังผู้อุทธรณ์และเจ้าพนักงานประเมิน และผู้อุทธรณ์มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต่อศาลภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครยกอุทธรณ์ด้วยเหตุที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือไม่ยอมให้ถ้อยคำโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้รอคำวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคำพิพากษาของศาล ดังนั้น แม้จะยื่นอุทธรณ์เจ้าของที่ดินก็ต้องชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด หากผลการอุทธรณ์จะต้องคืนเงินภาษีบำรุงท้องที่ก็ยื่นคำร้องขอรับเงินคืนได้
บทกำหนดโทษ
(1) ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีบำรุงท้องที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ผู้ใดจงใจไม่มาหรือไม่ยอมชี้เขตหรือไม่ยอมแจ้งจำนวนเนื้อที่ดิน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) ผู้ใดขัดขวางเจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติการตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดที่ให้เข้าไปทำการสำรวจที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดจำนวนเนื้อที่ที่ดินในการยื่นแบบแสดง รายการที่ดินแทนเจ้าของที่ดิน หรือผู้ใดขัดขวาง นายอำเภอ หรือ นายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ โดยกระทำการเพื่อไม่ให้นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ ภายหลังจากที่เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของนายอำเภอหรือนายกฯเพื่อมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ และในกรณีเจ้าของที่ดิน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ทำตามคำสั่งที่ให้ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ หรือผู้ใดขัดขวาง เจ้าพนักงานประเมินในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ในเวลากลางวันหรือเวลาทำการ เพื่อสอบถามบุคคล ตรวจสอบ ตรวจค้นบัญชี หรือเอกสาร หรือยึด อายัดบัญชี หรือเอกสาร เพื่อให้ทราบว่าผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ปฏิบัติถูกต้องตามพระราชบัญญัติหรือไม่
ผู้ใดขัดขวางกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือนายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งได้ให้เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือเจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็น เพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่หรือผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่มีหนังสือสั่งให้ผู้มีหน้าที่ที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชีหรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือผู้อุทธรณ์หรือบุคคลใดๆ ฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่มีหนังสือเรียกเพื่อมาให้ ถ้อยคำหรือส่งเอกสารอันควรแก่เรื่องมาแสดงในการพิจารณาอุทธรณ์
ผู้ใดฝ่าฝืนต่อคำสั่งกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(5) ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ้านายอำเภอ หรือนายกเทศมนตรี แล้วแต่กรณีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรได้รับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระเงินค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีต่อไป
หมายเหตุ ในที่นี้นายอำเภอ หมายถึง ผู้อำนวยการเขต , นายกเทศมนตรี หมายถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2538 มาตรา 50 มาตรา 69
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 รวมฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
: ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การลดหย่อนไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2525
ภาษีบำรุงท้องที่คืออะไร
ความหมายของภาษีบำรุงท้องมีดังนี้
เป็นภาษี ที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน ตามราคาปานกลางที่ดินและตามบัญชีอัตราภาษีบำรุงท้องที่ที่ดินที่ต้องเสีย
ภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ ที่ดินที่เป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิในที่ดิน หรือสิทธิครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิของเอกชน
ที่ดินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ พื้นที่ดิน และพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ำด้วย โดยไม่เป็นที่ดินที่เจ้าของที่ดินได้รับการยกเว้นภาษีหรืออยู่ในเกณฑ์ลดหย่อน
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษีบำรุงท้องที่
การยื่นแบบพิมพ์
ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ภายในเดือนมกราคม ทุกๆ 4 ปี
หากไม่ยื่นภายในกำหนด เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของภาษีที่ต้องชำระ
ยื่นชำระภาษีภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ยื่นชำระภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องชำระ
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดงและยื่นเพื่อเสียภาษี
หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของที่ดิน เช่น โฉนด หรือ น.ส.๓
-ใบเสร็จที่ชำระไว้ครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน
กรณีเจ้าของที่ดินไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้ทำหนังสือมอบหมายให้บุคคลอื่น ไปดำเนินการแทนก็ได้
โดยผู้แทนต้องนำบัตรประจำตัวประชาชนและหลักฐานดังกล่าวข้างต้นไปด้วย
แบบแสดงรายการที่ดิน (แบบ ภ.บ.ท.๕)
ค่าธรรมเนียม
การขอชำระค่าภาษีบำรุงท้องที่ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆ
เงินเพิ่ม
ให้เจ้าของที่ดินเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ในกรณีและอัตราดังนี้
(1) ไม่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินภายในเวลาที่กำหนดให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินจะได้แจ้งให้ทราบถึงการละเว้นนั้น ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละห้าของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
(2) ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินโดยไม่ถูกต้องทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของภาษีบำรุงท้องที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้มาขอแก้ไขแบบแสดงรายการที่ดินให้ถูกต้องก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมิน
(3) ชี้เขตแจ้งจำนวนเนื้อที่ดินไม่ถูกต้องต่อเจ้าพนักงานสำรวจ โดยทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มอีกหนึ่งเท่าของภาษีบำรุงท้องที่ที่ประเมินเพิ่มเติม
(4) ไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในเวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละยี่สิบสี่ต่อปีของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ไม่ให้นำเงินเพิ่มตาม (1) (2) หรือ (3) มาคำนวณเพื่อเสียเงินเพิ่มตาม (4) ด้วยเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นภาษีบำรุงท้องที่
การชำระภาษี
(1) ในปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน ให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน กรณีได้รับแจ้งการประเมินหลังเดือนมีนาคมให้ชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
(2) กรณีอื่น ๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
การขอผ่อนชำระภาษี
ถ้าภาษีบำรุงท้องที่ที่ต้องชำระมีจำนวนตั้งแต่สามพันบาทขึ้นไป ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะขอผ่อนชำระเป็นสามงวด งวดละ เท่า ๆ กันก็ได้ โดยแจ้งความจำนงเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี และให้ชำระงวดที่หนึ่งก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี งวดที่สองภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่หนึ่ง งวดที่สามภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่สอง
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดของศาล ให้มีการลดจำนวนเงินที่ได้ประเมินไว้ให้แจ้งผู้มีหน้าที่เสียภาษีทราบโดยเร็ว เพื่อมาขอรับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ผู้ใดเสียภาษีบำรุงท้องที่โดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควรต้องเสียผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้เสียภาษี
การเร่งรัดภาษีค้างชำระ
ภาษีบำรุงท้องที่จำนวนใดที่เจ้าพนักงานประเมิน ได้แจ้งหรือประกาศการประเมินแล้วถ้ามิได้ชำระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือเป็นภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งทรัพย์สินของผู้ค้างชำระ อาจถูกยึด อายัดหรือขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ
การอุทธรณ์
เจ้าของที่ดินมีสิทธิ์อุทธรณ์ได้ 2 กรณี คือกรณีไม่เห็นพ้องด้วยกับราคาปานกลางของที่ดิน และกรณีที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้องการยื่นอุทธรณ์ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมินภายในกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินไม่เห็นพ้องด้วยกับการตีราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของที่ดินได้พิจารณากำหนดไว้ตามประกาศ เจ้าของที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์การตีราคาปานกลางของที่ดินได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน
(2) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วหากเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องก็สามารถอุทธรณ์การประเมินได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
ทั้ง 2 กรณีดังกล่าวนี้ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานเขตท้องที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ตามที่เจ้าของที่ดินยื่นมาแล้วแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นหนังสือไปยังผู้อุทธรณ์และเจ้าพนักงานประเมิน และผู้อุทธรณ์มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต่อศาลภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครยกอุทธรณ์ด้วยเหตุที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือไม่ยอมให้ถ้อยคำโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้รอคำวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคำพิพากษาของศาล ดังนั้น แม้จะยื่นอุทธรณ์เจ้าของที่ดินก็ต้องชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด หากผลการอุทธรณ์จะต้องคืนเงินภาษีบำรุงท้องที่ก็ยื่นคำร้องขอรับเงินคืนได้
บทกำหนดโทษ
(1) ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีบำรุงท้องที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ผู้ใดจงใจไม่มาหรือไม่ยอมชี้เขตหรือไม่ยอมแจ้งจำนวนเนื้อที่ดิน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) ผู้ใดขัดขวางเจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติการตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดที่ให้เข้าไปทำการสำรวจที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดจำนวนเนื้อที่ที่ดินในการยื่นแบบแสดง รายการที่ดินแทนเจ้าของที่ดิน หรือผู้ใดขัดขวาง นายอำเภอ หรือ นายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ โดยกระทำการเพื่อไม่ให้นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ ภายหลังจากที่เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของนายอำเภอหรือนายกฯเพื่อมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ และในกรณีเจ้าของที่ดิน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ทำตามคำสั่งที่ให้ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ หรือผู้ใดขัดขวาง เจ้าพนักงานประเมินในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ในเวลากลางวันหรือเวลาทำการ เพื่อสอบถามบุคคล ตรวจสอบ ตรวจค้นบัญชี หรือเอกสาร หรือยึด อายัดบัญชี หรือเอกสาร เพื่อให้ทราบว่าผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ปฏิบัติถูกต้องตามพระราชบัญญัติหรือไม่
ผู้ใดขัดขวางกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือนายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งได้ให้เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือเจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็น เพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่หรือผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่มีหนังสือสั่งให้ผู้มีหน้าที่ที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชีหรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือผู้อุทธรณ์หรือบุคคลใดๆ ฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่มีหนังสือเรียกเพื่อมาให้ ถ้อยคำหรือส่งเอกสารอันควรแก่เรื่องมาแสดงในการพิจารณาอุทธรณ์
ผู้ใดฝ่าฝืนต่อคำสั่งกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(5) ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ้านายอำเภอ หรือนายกเทศมนตรี แล้วแต่กรณีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรได้รับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระเงินค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีต่อไป
หมายเหตุ ในที่นี้นายอำเภอ หมายถึง ผู้อำนวยการเขต , นายกเทศมนตรี หมายถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2538 มาตรา 50 มาตรา 69
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 รวมฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
: ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การลดหย่อนไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2525
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ภาษีบำรุงท้องที่คืออะไร
ความหมายของภาษีบำรุงท้องมีดังนี้
เป็นภาษี ที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน ตามราคาปานกลางที่ดินและตามบัญชีอัตราภาษีบำรุงท้องที่ที่ดินที่ต้องเสีย
ภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ ที่ดินที่เป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิในที่ดิน หรือสิทธิครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิของเอกชน
ที่ดินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ พื้นที่ดิน และพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ำด้วย โดยไม่เป็นที่ดินที่เจ้าของที่ดินได้รับการยกเว้นภาษีหรืออยู่ในเกณฑ์ลดหย่อน
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษีบำรุงท้องที่
การยื่นแบบพิมพ์
ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ภายในเดือนมกราคม ทุกๆ 4 ปี
หากไม่ยื่นภายในกำหนด เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของภาษีที่ต้องชำระ
ยื่นชำระภาษีภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ยื่นชำระภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องชำระ
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดงและยื่นเพื่อเสียภาษี
หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของที่ดิน เช่น โฉนด หรือ น.ส.๓
-ใบเสร็จที่ชำระไว้ครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน
กรณีเจ้าของที่ดินไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้ทำหนังสือมอบหมายให้บุคคลอื่น ไปดำเนินการแทนก็ได้
โดยผู้แทนต้องนำบัตรประจำตัวประชาชนและหลักฐานดังกล่าวข้างต้นไปด้วย
แบบแสดงรายการที่ดิน (แบบ ภ.บ.ท.๕)
ค่าธรรมเนียม
การขอชำระค่าภาษีบำรุงท้องที่ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆ
เงินเพิ่ม
ให้เจ้าของที่ดินเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ในกรณีและอัตราดังนี้
(1) ไม่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินภายในเวลาที่กำหนดให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินจะได้แจ้งให้ทราบถึงการละเว้นนั้น ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละห้าของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
(2) ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินโดยไม่ถูกต้องทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของภาษีบำรุงท้องที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้มาขอแก้ไขแบบแสดงรายการที่ดินให้ถูกต้องก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมิน
(3) ชี้เขตแจ้งจำนวนเนื้อที่ดินไม่ถูกต้องต่อเจ้าพนักงานสำรวจ โดยทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มอีกหนึ่งเท่าของภาษีบำรุงท้องที่ที่ประเมินเพิ่มเติม
(4) ไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในเวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละยี่สิบสี่ต่อปีของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ไม่ให้นำเงินเพิ่มตาม (1) (2) หรือ (3) มาคำนวณเพื่อเสียเงินเพิ่มตาม (4) ด้วยเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นภาษีบำรุงท้องที่
การชำระภาษี
(1) ในปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน ให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน กรณีได้รับแจ้งการประเมินหลังเดือนมีนาคมให้ชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
(2) กรณีอื่น ๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
การขอผ่อนชำระภาษี
ถ้าภาษีบำรุงท้องที่ที่ต้องชำระมีจำนวนตั้งแต่สามพันบาทขึ้นไป ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะขอผ่อนชำระเป็นสามงวด งวดละ เท่า ๆ กันก็ได้ โดยแจ้งความจำนงเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี และให้ชำระงวดที่หนึ่งก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี งวดที่สองภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่หนึ่ง งวดที่สามภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่สอง
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดของศาล ให้มีการลดจำนวนเงินที่ได้ประเมินไว้ให้แจ้งผู้มีหน้าที่เสียภาษีทราบโดยเร็ว เพื่อมาขอรับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ผู้ใดเสียภาษีบำรุงท้องที่โดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควรต้องเสียผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้เสียภาษี
การเร่งรัดภาษีค้างชำระ
ภาษีบำรุงท้องที่จำนวนใดที่เจ้าพนักงานประเมิน ได้แจ้งหรือประกาศการประเมินแล้วถ้ามิได้ชำระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือเป็นภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งทรัพย์สินของผู้ค้างชำระ อาจถูกยึด อายัดหรือขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ
การอุทธรณ์
เจ้าของที่ดินมีสิทธิ์อุทธรณ์ได้ 2 กรณี คือกรณีไม่เห็นพ้องด้วยกับราคาปานกลางของที่ดิน และกรณีที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้องการยื่นอุทธรณ์ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมินภายในกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินไม่เห็นพ้องด้วยกับการตีราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของที่ดินได้พิจารณากำหนดไว้ตามประกาศ เจ้าของที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์การตีราคาปานกลางของที่ดินได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน
(2) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วหากเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องก็สามารถอุทธรณ์การประเมินได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
ทั้ง 2 กรณีดังกล่าวนี้ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานเขตท้องที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ตามที่เจ้าของที่ดินยื่นมาแล้วแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นหนังสือไปยังผู้อุทธรณ์และเจ้าพนักงานประเมิน และผู้อุทธรณ์มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต่อศาลภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครยกอุทธรณ์ด้วยเหตุที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือไม่ยอมให้ถ้อยคำโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้รอคำวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคำพิพากษาของศาล ดังนั้น แม้จะยื่นอุทธรณ์เจ้าของที่ดินก็ต้องชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด หากผลการอุทธรณ์จะต้องคืนเงินภาษีบำรุงท้องที่ก็ยื่นคำร้องขอรับเงินคืนได้
บทกำหนดโทษ
(1) ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีบำรุงท้องที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ผู้ใดจงใจไม่มาหรือไม่ยอมชี้เขตหรือไม่ยอมแจ้งจำนวนเนื้อที่ดิน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) ผู้ใดขัดขวางเจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติการตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดที่ให้เข้าไปทำการสำรวจที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดจำนวนเนื้อที่ที่ดินในการยื่นแบบแสดง รายการที่ดินแทนเจ้าของที่ดิน หรือผู้ใดขัดขวาง นายอำเภอ หรือ นายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ โดยกระทำการเพื่อไม่ให้นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ ภายหลังจากที่เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของนายอำเภอหรือนายกฯเพื่อมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ และในกรณีเจ้าของที่ดิน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ทำตามคำสั่งที่ให้ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ หรือผู้ใดขัดขวาง เจ้าพนักงานประเมินในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ในเวลากลางวันหรือเวลาทำการ เพื่อสอบถามบุคคล ตรวจสอบ ตรวจค้นบัญชี หรือเอกสาร หรือยึด อายัดบัญชี หรือเอกสาร เพื่อให้ทราบว่าผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ปฏิบัติถูกต้องตามพระราชบัญญัติหรือไม่
ผู้ใดขัดขวางกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือนายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งได้ให้เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือเจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็น เพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่หรือผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่มีหนังสือสั่งให้ผู้มีหน้าที่ที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชีหรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือผู้อุทธรณ์หรือบุคคลใดๆ ฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่มีหนังสือเรียกเพื่อมาให้ ถ้อยคำหรือส่งเอกสารอันควรแก่เรื่องมาแสดงในการพิจารณาอุทธรณ์
ผู้ใดฝ่าฝืนต่อคำสั่งกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(5) ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ้านายอำเภอ หรือนายกเทศมนตรี แล้วแต่กรณีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรได้รับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระเงินค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีต่อไป
หมายเหตุ ในที่นี้นายอำเภอ หมายถึง ผู้อำนวยการเขต , นายกเทศมนตรี หมายถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2538 มาตรา 50 มาตรา 69
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 รวมฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
: ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การลดหย่อนไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2525
../add_file/ภาษีบำรุงท้องที่คืออะไร
ความหมายของภาษีบำรุงท้องมีดังนี้
เป็นภาษี ที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน ตามราคาปานกลางที่ดินและตามบัญชีอัตราภาษีบำรุงท้องที่ที่ดินที่ต้องเสีย
ภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ ที่ดินที่เป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิในที่ดิน หรือสิทธิครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิของเอกชน
ที่ดินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ได้แก่ พื้นที่ดิน และพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ำด้วย โดยไม่เป็นที่ดินที่เจ้าของที่ดินได้รับการยกเว้นภาษีหรืออยู่ในเกณฑ์ลดหย่อน
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษีบำรุงท้องที่
การยื่นแบบพิมพ์
ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ภายในเดือนมกราคม ทุกๆ 4 ปี
หากไม่ยื่นภายในกำหนด เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของภาษีที่ต้องชำระ
ยื่นชำระภาษีภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ยื่นชำระภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องชำระ
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดงและยื่นเพื่อเสียภาษี
หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของที่ดิน เช่น โฉนด หรือ น.ส.๓
-ใบเสร็จที่ชำระไว้ครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน
กรณีเจ้าของที่ดินไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้ทำหนังสือมอบหมายให้บุคคลอื่น ไปดำเนินการแทนก็ได้
โดยผู้แทนต้องนำบัตรประจำตัวประชาชนและหลักฐานดังกล่าวข้างต้นไปด้วย
แบบแสดงรายการที่ดิน (แบบ ภ.บ.ท.๕)
ค่าธรรมเนียม
การขอชำระค่าภาษีบำรุงท้องที่ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆ
เงินเพิ่ม
ให้เจ้าของที่ดินเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ ในกรณีและอัตราดังนี้
(1) ไม่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินภายในเวลาที่กำหนดให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินจะได้แจ้งให้ทราบถึงการละเว้นนั้น ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละห้าของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
(2) ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินโดยไม่ถูกต้องทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละสิบของภาษีบำรุงท้องที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่กรณีที่เจ้าของที่ดินได้มาขอแก้ไขแบบแสดงรายการที่ดินให้ถูกต้องก่อนที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมิน
(3) ชี้เขตแจ้งจำนวนเนื้อที่ดินไม่ถูกต้องต่อเจ้าพนักงานสำรวจ โดยทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มอีกหนึ่งเท่าของภาษีบำรุงท้องที่ที่ประเมินเพิ่มเติม
(4) ไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในเวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละยี่สิบสี่ต่อปีของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ไม่ให้นำเงินเพิ่มตาม (1) (2) หรือ (3) มาคำนวณเพื่อเสียเงินเพิ่มตาม (4) ด้วยเงินเพิ่มให้ถือว่าเป็นภาษีบำรุงท้องที่
การชำระภาษี
(1) ในปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน ให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน กรณีได้รับแจ้งการประเมินหลังเดือนมีนาคมให้ชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
(2) กรณีอื่น ๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
การขอผ่อนชำระภาษี
ถ้าภาษีบำรุงท้องที่ที่ต้องชำระมีจำนวนตั้งแต่สามพันบาทขึ้นไป ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะขอผ่อนชำระเป็นสามงวด งวดละ เท่า ๆ กันก็ได้ โดยแจ้งความจำนงเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี และให้ชำระงวดที่หนึ่งก่อนครบกำหนดเวลาชำระภาษี งวดที่สองภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่หนึ่ง งวดที่สามภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องชำระงวดที่สอง
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดของศาล ให้มีการลดจำนวนเงินที่ได้ประเมินไว้ให้แจ้งผู้มีหน้าที่เสียภาษีทราบโดยเร็ว เพื่อมาขอรับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ผู้ใดเสียภาษีบำรุงท้องที่โดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควรต้องเสียผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินคืนโดยยื่นคำร้องขอคืนภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้เสียภาษี
การเร่งรัดภาษีค้างชำระ
ภาษีบำรุงท้องที่จำนวนใดที่เจ้าพนักงานประเมิน ได้แจ้งหรือประกาศการประเมินแล้วถ้ามิได้ชำระภายในเวลาที่กำหนด ให้ถือเป็นภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งทรัพย์สินของผู้ค้างชำระ อาจถูกยึด อายัดหรือขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ
การอุทธรณ์
เจ้าของที่ดินมีสิทธิ์อุทธรณ์ได้ 2 กรณี คือกรณีไม่เห็นพ้องด้วยกับราคาปานกลางของที่ดิน และกรณีที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้องการยื่นอุทธรณ์ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมินภายในกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินไม่เห็นพ้องด้วยกับการตีราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของที่ดินได้พิจารณากำหนดไว้ตามประกาศ เจ้าของที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์การตีราคาปานกลางของที่ดินได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน
(2) ในกรณีที่เจ้าของที่ดินได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วหากเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องก็สามารถอุทธรณ์การประเมินได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
ทั้ง 2 กรณีดังกล่าวนี้ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานเขตท้องที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ตามที่เจ้าของที่ดินยื่นมาแล้วแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นหนังสือไปยังผู้อุทธรณ์และเจ้าพนักงานประเมิน และผู้อุทธรณ์มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต่อศาลภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครยกอุทธรณ์ด้วยเหตุที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือไม่ยอมให้ถ้อยคำโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีบำรุงท้องที่ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้รอคำวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคำพิพากษาของศาล ดังนั้น แม้จะยื่นอุทธรณ์เจ้าของที่ดินก็ต้องชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด หากผลการอุทธรณ์จะต้องคืนเงินภาษีบำรุงท้องที่ก็ยื่นคำร้องขอรับเงินคืนได้
บทกำหนดโทษ
(1) ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีบำรุงท้องที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(2) ผู้ใดจงใจไม่มาหรือไม่ยอมชี้เขตหรือไม่ยอมแจ้งจำนวนเนื้อที่ดิน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(3) ผู้ใดขัดขวางเจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติการตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดที่ให้เข้าไปทำการสำรวจที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดจำนวนเนื้อที่ที่ดินในการยื่นแบบแสดง รายการที่ดินแทนเจ้าของที่ดิน หรือผู้ใดขัดขวาง นายอำเภอ หรือ นายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ โดยกระทำการเพื่อไม่ให้นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ ภายหลังจากที่เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของนายอำเภอหรือนายกฯเพื่อมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ และในกรณีเจ้าของที่ดิน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ทำตามคำสั่งที่ให้ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ หรือผู้ใดขัดขวาง เจ้าพนักงานประเมินในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องแก่การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ในเวลากลางวันหรือเวลาทำการ เพื่อสอบถามบุคคล ตรวจสอบ ตรวจค้นบัญชี หรือเอกสาร หรือยึด อายัดบัญชี หรือเอกสาร เพื่อให้ทราบว่าผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ปฏิบัติถูกต้องตามพระราชบัญญัติหรือไม่
ผู้ใดขัดขวางกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(4) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งนายอำเภอหรือนายกเทศมนตรี ในการปฏิบัติการตามหน้าที่เพื่อเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ซึ่งได้ให้เจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ หรือส่งบัญชี หรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือเจ้าของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติการเท่าที่จำเป็น เพื่อประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีบำรุงท้องที่หรือผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่มีหนังสือสั่งให้ผู้มีหน้าที่ที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชีหรือเอกสารมาตรวจสอบ หรือผู้อุทธรณ์หรือบุคคลใดๆ ฝ่าฝืนคำสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่มีหนังสือเรียกเพื่อมาให้ ถ้อยคำหรือส่งเอกสารอันควรแก่เรื่องมาแสดงในการพิจารณาอุทธรณ์
ผู้ใดฝ่าฝืนต่อคำสั่งกรณีดังกล่าวต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(5) ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ้านายอำเภอ หรือนายกเทศมนตรี แล้วแต่กรณีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรได้รับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่นายอำเภอหรือนายกเทศมนตรีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระเงินค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีต่อไป
หมายเหตุ ในที่นี้นายอำเภอ หมายถึง ผู้อำนวยการเขต , นายกเทศมนตรี หมายถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2538 มาตรา 50 มาตรา 69
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 รวมฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508
: ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การลดหย่อนไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2525
ชื่อไฟล์ : ขอให้ อบต.ประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวเมื่อเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง ต้องทำอย่างไรบ้าง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ขอให้ อบต.ประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวเมื่อเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง ต้องทำอย่างไรบ้าง../add_file/ขอให้ อบต.ประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวเมื่อเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง ต้องทำอย่างไรบ้าง
ชื่อไฟล์ : ปู่อัญญาหลวง
ปู่อัญญาหลวง
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ปู่อัญญาหลวง
../add_file/ปู่อัญญาหลวง
ชื่อไฟล์ : 3.ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรและจำนวนหมู่บ้าน (แสดงจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ณ เดือน 30 กันยายน พ.ศ. 2560)
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
แยกตามเพศ
|
รวม
|
ชาย
|
หญิง
|
1
|
นายูง
|
99
|
183
|
193
|
376
|
2
|
นาม่วง
|
65
|
158
|
170
|
328
|
3
|
นาฮี
|
155
|
364
|
391
|
755
|
4
|
หนองกุงปาว
|
166
|
369
|
382
|
751
|
5
|
โคกหนองแวง
|
162
|
284
|
295
|
579
|
6
|
หนองอึ่ง
|
114
|
250
|
253
|
503
|
7
|
คำดอกไม้
|
90
|
173
|
160
|
333
|
8
|
นาฮี
|
107
|
252
|
246
|
498
|
9
|
โคกหนองแวง
|
137
|
272
|
291
|
563
|
10
|
นายูง
|
84
|
188
|
176
|
364
|
รวม
|
1,179
|
2,493
|
2,557
|
5,050
|
ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียนอำเภอศรีธาตุ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 10 ประชากรทั้งสิ้น 5,050 คน แยกเป็นชาย 2,493 คน หญิง 2,557 คน จำนวนครัวเรือน 1,179 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร
1.ผู้นำชุมชนในเขตตำบลนายูง
หมู่ที่ 1 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายอุดร เหมือยพรม
หมู่ที่ 2 บ้านนาม่วง ผู้ใหญ่บ้าน นายพิษณุกุล สอนสกุล
หมู่ที่ 3 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายสมใจ ภูมิโคตร
หมู่ที่ 4 บ้านหนองกุงปาว ผู้ใหญ่บ้าน นายอดุลย์ คำฤาชัย
หมู่ที่ 5 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายวิทยา บุตรอินทร์
-5-
หมู่ที่ 6 บ้านหนองฮึ่ง ผู้ใหญ่บ้าน นายแสวง หลักคำ
หมู่ที่ 7 บ้านคำดอกไม้ กำนันตำบลนายูง นายสมบูรณ์ สอนสกุล
หมู่ที่ 8 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายมงคล จันทาสี
หมู่ที่ 9 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายทองเพชร คำฤาชัย
หมู่ที่ 10 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญหลาย เกษโสภา
สภาพทางสังคม
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนายูง
2. โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
- โรงเรียนบ้านหนองกุงปาว
- โรงเรียนบ้านโครกหนองแวง
- โรงเรียนบ้านคำดอกไม้
3. โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
สาธารณสุข
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 1 แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลนายูง
2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 10 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาม่วง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองกุงปาว
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองอึ่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านคำดอกไม้
-6-
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
3. เครือข่าย อสม. ( 10 หมู่บ้าน ) จำนวน 100 คน
4. อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 90 อีก ร้อยละ 5 ใช้แบบชักโครก
อาชญากรรม
ปัญหาอาชญากรรมไม่มีความรุนแรง โดยส่วนใหญ่เป็นอาชญากรรมประเภทลักษณะเล็กน้อย แต่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก เป็นพฤติกรรมของวัยรุ่น วัยคะนอง
ยาเสพติด
การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาด้านผู้เสพ ซึ่งมีทั้งเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ทำงาน เป็นการเสพเพื่อทดลองและตามกระแสเพื่อน สำหรับการระบาดหลัก ๆ คือยาบ้า ในส่วนของบุหรี่ สุรา ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับชุมชนทั่วไป
การสังคมสงเคราะห์
ส่วนใหญ่จะได้รับสวัสดิการจากภาครัฐอยู่แล้ว เบี้ยยังชีพ คนพิการ ผู้ป่วยติดเชื้อ สำหรับผู้ด้อยโอกาสอื่น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลได้ให้ความช่วยเหลือตามอำนาจหน้าที่ และตามหลักมนุษยชนทั่วไป
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ตำบลนายูง มีเส้นทางการคมนาคมไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดใกล้เคียง โดยใช้รถยนต์ และรถประจำทาง
มีถนนของกรมทางหลวง 1 สาย คือ
1. ถนนศรีธาตุ-วังสามหมอ ผ่านบ้านนาม่วง บ้านโคกแหนองแวง และบ้านหนองกุงปาว
ถนนลาดยางเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน
ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายในตำบล รอบนอกเป็นทางลาดยางลักษณะเป็นวงกลม ส่วนถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายใน ส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง ลักษณะใยแมงมุม
ส่วนถนนสายภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนน คสล. ถนนลาดยางในเส้นทางหลักและอีกจำนวนมากยังเป็นถนนลูกรัง
4.2 การไฟฟ้า (แสดงถึงจำนวนหมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึงและจำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า)
ตำบลนายูง มีจำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ครบทั้ง 10 หมู่บ้าน
4.3 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
ระบบเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ (แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต.)
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่อ้อย และมีรายได้เฉลี่ยของประชากรเกิน 20,000 บาท ต่อคนต่อปี ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร
อาชีพของประชากรในพื้นที่
เกษตรกร (ทำนา ทำไร่อ้อย)
- ลูกจ้างภาคเอกชน
.รับจ้างทั่วไป
.เลี้ยงสัตว์ , ประมง
.รับราชการ
.ค้าขาย
.ทำสวน ,ทำไร่
.ธุรกิจส่วนตัว
.แม่บ้าน
นักเรียน , นักศึกษา
2.2 การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา และทำไร่อ้อย พื้นที่ทำการเกษตร 23,668 ไร่ ส่วนการเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้ใช้งาน บางส่วนเลี้ยงไว้สำหรับบริโภคเอง และเพื่อจำหน่าย เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ 2.3 การพาณิชยกรรมและบริการ
สถานประกอบการค้าด้านพาณิชยกรรม ประกอบด้วย
1. บ้านเช่า จำนวน 1 แห่ง
2. รีสอร์ท จำนวน 1 แห่ง
- วังเกษตรรีสอร์ท
-8-
3. ปั๊มน้ำมัน จำนวน 4 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน หมู่ 8 หมู่ 6 หมู่ 4 หมู่ 9
4. โรงสีข้าว จำนวน 8 แห่ง
- นายสุชาติ พรมกุล หมู่ 1
- นางสุมาลี เประกันยา หมู่ 3
- นายสุวรรณ รสธรรม หมู่ 3
- นายกมล กิตติราช หมู่ 5
- นายธงชัย คำโคตรสูนย์ หมู่ 5
- นายรงค์ เหล่ารัตน์ หมู่ 8
- นายเสือ เกษโสภา หมู่ 10
5. ร้านค้าขนาดย่อม จำนวน 19 แห่ง
6. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ จำนวน 2 แห่ง
7. ร้านอู่ซ่อมรถอีแต๋น จำนวน 3 แห่ง
8. ร้านซ่อมรถ จำนวน 3 แห่ง
9. โรงขนมจีน จำนวน 1 แห่ง
10. เสาโทรศัพท์ จำนวน 4 แห่ง
11. ร้านอาหาร จำนวน 1 แห่ง
12. บ่อนไก่ จำนวน 1 แห่ง
13. ลานมัน/ลานอ้อย จำนวน 3 แห่ง
14. เนสเล่ไอศครีม จำนวน 1 แห่ง
15. อู่ซ่อมรถสิบล้อ จำนวน 1 แห่ง
16. ร้านเย็บผ้า จำนวน 1 แห่ง
17. ขายปลา จำนวน 2 แห่ง
18. ร้านเกมส์ จำนวน 2 แห่ง
19. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
20. คลินิก จำนวน 1 แห่ง
21. ตู้โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 2 แห่ง
เศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
-9-
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค)
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
วัด / สำนักสงฆ์ จำนวน 10 แห่ง
- วัดป่าโพนพระเจ้า หมู่ที่ 5
- วัดโพธิ์ชัย หมู่ที่ 1
- วัดโนนตาล หมู่ที่ 9
- วัดศิริปัญญาเมตตาธรรม หมู่ที่ 8
- วัดปทุม หมู่ที่ 4
- วัดสว่างบรมนิวาส หมู่ที่ 7
- วัดโพธิ์สง่าศรีจำปา หมู่ที่ 2
- วัดศิริมงคล หมู่ที่ 6
- วัดป่าบึงกุดเต่า หมู่ที่ 9
- วัดโพธิ์ศรี หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 8
ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีประจำปีประเพณีงานภูไท จัดเป็นประจำทุกปีตรงกับวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี งานบุญบั้งไฟ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ประชาชนในพื้นที่ตำบลนายูงส่วนใหญ่จะพูดภาษาภูไท ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ภาษาอีสาน 20 เปอร์เซ็นต์
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองจะเป็นผ้าถุงลายนกยูง และชุดภูไท
น้ำ
แหล่งน้ำส่วนใหญ่เป็นห้วย หนอง คลองบึง และลำน้ำปาว โดยประชาชนในพื้นที่ใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่
ป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ในเขตพื้นที่ยังคงเหลืออยู่ประมาณ 1,000 ไร่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ตั้งของวัด หรือสำนักสงฆ์ สภาพป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของต้นไม้ เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้จิก ฯลฯ
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพของป่าไม้อยู่ในขั้นวิกฤต ลำน้ำปาวไหลผ่านพื้นที่แต่ไม่ได้รับการดูแล บำรุงรักษาเท่าที่ควรเป็นการปล่อยผ่านไปตามธรรมชาติเป็นเหตุให้แหล่งน้ำเสื่อมโทรม และปัญหาการบุกรุก การรุกล้ำน่านน้ำของประชาชนในพื้นที่ ทรัพยากรน้ำถูกรบกวนในฤดูวางไข่โดยคนนอกพื้นที่ แม้ว่ากรมประมงจะได้ใช้มาตรการเด็ดขาดก็ตาม
อื่น ๆ
3.ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรและจำนวนหมู่บ้าน (แสดงจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ณ เดือน 30 กันยายน พ.ศ. 2560)
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
แยกตามเพศ
|
รวม
|
ชาย
|
หญิง
|
1
|
นายูง
|
99
|
183
|
193
|
376
|
2
|
นาม่วง
|
65
|
158
|
170
|
328
|
3
|
นาฮี
|
155
|
364
|
391
|
755
|
4
|
หนองกุงปาว
|
166
|
369
|
382
|
751
|
5
|
โคกหนองแวง
|
162
|
284
|
295
|
579
|
6
|
หนองอึ่ง
|
114
|
250
|
253
|
503
|
7
|
คำดอกไม้
|
90
|
173
|
160
|
333
|
8
|
นาฮี
|
107
|
252
|
246
|
498
|
9
|
โคกหนองแวง
|
137
|
272
|
291
|
563
|
10
|
นายูง
|
84
|
188
|
176
|
364
|
รวม
|
1,179
|
2,493
|
2,557
|
5,050
|
ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียนอำเภอศรีธาตุ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 10 ประชากรทั้งสิ้น 5,050 คน แยกเป็นชาย 2,493 คน หญิง 2,557 คน จำนวนครัวเรือน 1,179 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร
1.ผู้นำชุมชนในเขตตำบลนายูง
หมู่ที่ 1 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายอุดร เหมือยพรม
หมู่ที่ 2 บ้านนาม่วง ผู้ใหญ่บ้าน นายพิษณุกุล สอนสกุล
หมู่ที่ 3 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายสมใจ ภูมิโคตร
หมู่ที่ 4 บ้านหนองกุงปาว ผู้ใหญ่บ้าน นายอดุลย์ คำฤาชัย
หมู่ที่ 5 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายวิทยา บุตรอินทร์
-5-
หมู่ที่ 6 บ้านหนองฮึ่ง ผู้ใหญ่บ้าน นายแสวง หลักคำ
หมู่ที่ 7 บ้านคำดอกไม้ กำนันตำบลนายูง นายสมบูรณ์ สอนสกุล
หมู่ที่ 8 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายมงคล จันทาสี
หมู่ที่ 9 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายทองเพชร คำฤาชัย
หมู่ที่ 10 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญหลาย เกษโสภา
สภาพทางสังคม
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนายูง
2. โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
- โรงเรียนบ้านหนองกุงปาว
- โรงเรียนบ้านโครกหนองแวง
- โรงเรียนบ้านคำดอกไม้
3. โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
สาธารณสุข
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 1 แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลนายูง
2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 10 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาม่วง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองกุงปาว
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองอึ่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านคำดอกไม้
-6-
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
3. เครือข่าย อสม. ( 10 หมู่บ้าน ) จำนวน 100 คน
4. อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 90 อีก ร้อยละ 5 ใช้แบบชักโครก
อาชญากรรม
ปัญหาอาชญากรรมไม่มีความรุนแรง โดยส่วนใหญ่เป็นอาชญากรรมประเภทลักษณะเล็กน้อย แต่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก เป็นพฤติกรรมของวัยรุ่น วัยคะนอง
ยาเสพติด
การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาด้านผู้เสพ ซึ่งมีทั้งเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ทำงาน เป็นการเสพเพื่อทดลองและตามกระแสเพื่อน สำหรับการระบาดหลัก ๆ คือยาบ้า ในส่วนของบุหรี่ สุรา ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับชุมชนทั่วไป
การสังคมสงเคราะห์
ส่วนใหญ่จะได้รับสวัสดิการจากภาครัฐอยู่แล้ว เบี้ยยังชีพ คนพิการ ผู้ป่วยติดเชื้อ สำหรับผู้ด้อยโอกาสอื่น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลได้ให้ความช่วยเหลือตามอำนาจหน้าที่ และตามหลักมนุษยชนทั่วไป
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ตำบลนายูง มีเส้นทางการคมนาคมไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดใกล้เคียง โดยใช้รถยนต์ และรถประจำทาง
มีถนนของกรมทางหลวง 1 สาย คือ
1. ถนนศรีธาตุ-วังสามหมอ ผ่านบ้านนาม่วง บ้านโคกแหนองแวง และบ้านหนองกุงปาว
ถนนลาดยางเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน
ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายในตำบล รอบนอกเป็นทางลาดยางลักษณะเป็นวงกลม ส่วนถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายใน ส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง ลักษณะใยแมงมุม
ส่วนถนนสายภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนน คสล. ถนนลาดยางในเส้นทางหลักและอีกจำนวนมากยังเป็นถนนลูกรัง
4.2 การไฟฟ้า (แสดงถึงจำนวนหมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึงและจำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า)
ตำบลนายูง มีจำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ครบทั้ง 10 หมู่บ้าน
4.3 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
ระบบเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ (แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต.)
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่อ้อย และมีรายได้เฉลี่ยของประชากรเกิน 20,000 บาท ต่อคนต่อปี ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร
อาชีพของประชากรในพื้นที่
เกษตรกร (ทำนา ทำไร่อ้อย)
- ลูกจ้างภาคเอกชน
.รับจ้างทั่วไป
.เลี้ยงสัตว์ , ประมง
.รับราชการ
.ค้าขาย
.ทำสวน ,ทำไร่
.ธุรกิจส่วนตัว
.แม่บ้าน
นักเรียน , นักศึกษา
2.2 การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา และทำไร่อ้อย พื้นที่ทำการเกษตร 23,668 ไร่ ส่วนการเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้ใช้งาน บางส่วนเลี้ยงไว้สำหรับบริโภคเอง และเพื่อจำหน่าย เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ 2.3 การพาณิชยกรรมและบริการ
สถานประกอบการค้าด้านพาณิชยกรรม ประกอบด้วย
1. บ้านเช่า จำนวน 1 แห่ง
2. รีสอร์ท จำนวน 1 แห่ง
- วังเกษตรรีสอร์ท
-8-
3. ปั๊มน้ำมัน จำนวน 4 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน หมู่ 8 หมู่ 6 หมู่ 4 หมู่ 9
4. โรงสีข้าว จำนวน 8 แห่ง
- นายสุชาติ พรมกุล หมู่ 1
- นางสุมาลี เประกันยา หมู่ 3
- นายสุวรรณ รสธรรม หมู่ 3
- นายกมล กิตติราช หมู่ 5
- นายธงชัย คำโคตรสูนย์ หมู่ 5
- นายรงค์ เหล่ารัตน์ หมู่ 8
- นายเสือ เกษโสภา หมู่ 10
5. ร้านค้าขนาดย่อม จำนวน 19 แห่ง
6. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ จำนวน 2 แห่ง
7. ร้านอู่ซ่อมรถอีแต๋น จำนวน 3 แห่ง
8. ร้านซ่อมรถ จำนวน 3 แห่ง
9. โรงขนมจีน จำนวน 1 แห่ง
10. เสาโทรศัพท์ จำนวน 4 แห่ง
11. ร้านอาหาร จำนวน 1 แห่ง
12. บ่อนไก่ จำนวน 1 แห่ง
13. ลานมัน/ลานอ้อย จำนวน 3 แห่ง
14. เนสเล่ไอศครีม จำนวน 1 แห่ง
15. อู่ซ่อมรถสิบล้อ จำนวน 1 แห่ง
16. ร้านเย็บผ้า จำนวน 1 แห่ง
17. ขายปลา จำนวน 2 แห่ง
18. ร้านเกมส์ จำนวน 2 แห่ง
19. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
20. คลินิก จำนวน 1 แห่ง
21. ตู้โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 2 แห่ง
เศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
-9-
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค)
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
วัด / สำนักสงฆ์ จำนวน 10 แห่ง
- วัดป่าโพนพระเจ้า หมู่ที่ 5
- วัดโพธิ์ชัย หมู่ที่ 1
- วัดโนนตาล หมู่ที่ 9
- วัดศิริปัญญาเมตตาธรรม หมู่ที่ 8
- วัดปทุม หมู่ที่ 4
- วัดสว่างบรมนิวาส หมู่ที่ 7
- วัดโพธิ์สง่าศรีจำปา หมู่ที่ 2
- วัดศิริมงคล หมู่ที่ 6
- วัดป่าบึงกุดเต่า หมู่ที่ 9
- วัดโพธิ์ศรี หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 8
ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีประจำปีประเพณีงานภูไท จัดเป็นประจำทุกปีตรงกับวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี งานบุญบั้งไฟ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ประชาชนในพื้นที่ตำบลนายูงส่วนใหญ่จะพูดภาษาภูไท ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ภาษาอีสาน 20 เปอร์เซ็นต์
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองจะเป็นผ้าถุงลายนกยูง และชุดภูไท
น้ำ
แหล่งน้ำส่วนใหญ่เป็นห้วย หนอง คลองบึง และลำน้ำปาว โดยประชาชนในพื้นที่ใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่
ป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ในเขตพื้นที่ยังคงเหลืออยู่ประมาณ 1,000 ไร่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ตั้งของวัด หรือสำนักสงฆ์ สภาพป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของต้นไม้ เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้จิก ฯลฯ
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพของป่าไม้อยู่ในขั้นวิกฤต ลำน้ำปาวไหลผ่านพื้นที่แต่ไม่ได้รับการดูแล บำรุงรักษาเท่าที่ควรเป็นการปล่อยผ่านไปตามธรรมชาติเป็นเหตุให้แหล่งน้ำเสื่อมโทรม และปัญหาการบุกรุก การรุกล้ำน่านน้ำของประชาชนในพื้นที่ ทรัพยากรน้ำถูกรบกวนในฤดูวางไข่โดยคนนอกพื้นที่ แม้ว่ากรมประมงจะได้ใช้มาตรการเด็ดขาดก็ตาม
อื่น ๆ
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: 3.ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรและจำนวนหมู่บ้าน (แสดงจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ณ เดือน 30 กันยายน พ.ศ. 2560)
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
แยกตามเพศ
|
รวม
|
ชาย
|
หญิง
|
1
|
นายูง
|
99
|
183
|
193
|
376
|
2
|
นาม่วง
|
65
|
158
|
170
|
328
|
3
|
นาฮี
|
155
|
364
|
391
|
755
|
4
|
หนองกุงปาว
|
166
|
369
|
382
|
751
|
5
|
โคกหนองแวง
|
162
|
284
|
295
|
579
|
6
|
หนองอึ่ง
|
114
|
250
|
253
|
503
|
7
|
คำดอกไม้
|
90
|
173
|
160
|
333
|
8
|
นาฮี
|
107
|
252
|
246
|
498
|
9
|
โคกหนองแวง
|
137
|
272
|
291
|
563
|
10
|
นายูง
|
84
|
188
|
176
|
364
|
รวม
|
1,179
|
2,493
|
2,557
|
5,050
|
ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียนอำเภอศรีธาตุ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 10 ประชากรทั้งสิ้น 5,050 คน แยกเป็นชาย 2,493 คน หญิง 2,557 คน จำนวนครัวเรือน 1,179 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร
1.ผู้นำชุมชนในเขตตำบลนายูง
หมู่ที่ 1 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายอุดร เหมือยพรม
หมู่ที่ 2 บ้านนาม่วง ผู้ใหญ่บ้าน นายพิษณุกุล สอนสกุล
หมู่ที่ 3 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายสมใจ ภูมิโคตร
หมู่ที่ 4 บ้านหนองกุงปาว ผู้ใหญ่บ้าน นายอดุลย์ คำฤาชัย
หมู่ที่ 5 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายวิทยา บุตรอินทร์
-5-
หมู่ที่ 6 บ้านหนองฮึ่ง ผู้ใหญ่บ้าน นายแสวง หลักคำ
หมู่ที่ 7 บ้านคำดอกไม้ กำนันตำบลนายูง นายสมบูรณ์ สอนสกุล
หมู่ที่ 8 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายมงคล จันทาสี
หมู่ที่ 9 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายทองเพชร คำฤาชัย
หมู่ที่ 10 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญหลาย เกษโสภา
สภาพทางสังคม
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนายูง
2. โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
- โรงเรียนบ้านหนองกุงปาว
- โรงเรียนบ้านโครกหนองแวง
- โรงเรียนบ้านคำดอกไม้
3. โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
สาธารณสุข
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 1 แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลนายูง
2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 10 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาม่วง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองกุงปาว
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองอึ่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านคำดอกไม้
-6-
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
3. เครือข่าย อสม. ( 10 หมู่บ้าน ) จำนวน 100 คน
4. อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 90 อีก ร้อยละ 5 ใช้แบบชักโครก
อาชญากรรม
ปัญหาอาชญากรรมไม่มีความรุนแรง โดยส่วนใหญ่เป็นอาชญากรรมประเภทลักษณะเล็กน้อย แต่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก เป็นพฤติกรรมของวัยรุ่น วัยคะนอง
ยาเสพติด
การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาด้านผู้เสพ ซึ่งมีทั้งเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ทำงาน เป็นการเสพเพื่อทดลองและตามกระแสเพื่อน สำหรับการระบาดหลัก ๆ คือยาบ้า ในส่วนของบุหรี่ สุรา ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับชุมชนทั่วไป
การสังคมสงเคราะห์
ส่วนใหญ่จะได้รับสวัสดิการจากภาครัฐอยู่แล้ว เบี้ยยังชีพ คนพิการ ผู้ป่วยติดเชื้อ สำหรับผู้ด้อยโอกาสอื่น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลได้ให้ความช่วยเหลือตามอำนาจหน้าที่ และตามหลักมนุษยชนทั่วไป
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ตำบลนายูง มีเส้นทางการคมนาคมไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดใกล้เคียง โดยใช้รถยนต์ และรถประจำทาง
มีถนนของกรมทางหลวง 1 สาย คือ
1. ถนนศรีธาตุ-วังสามหมอ ผ่านบ้านนาม่วง บ้านโคกแหนองแวง และบ้านหนองกุงปาว
ถนนลาดยางเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน
ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายในตำบล รอบนอกเป็นทางลาดยางลักษณะเป็นวงกลม ส่วนถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายใน ส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง ลักษณะใยแมงมุม
ส่วนถนนสายภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนน คสล. ถนนลาดยางในเส้นทางหลักและอีกจำนวนมากยังเป็นถนนลูกรัง
4.2 การไฟฟ้า (แสดงถึงจำนวนหมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึงและจำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า)
ตำบลนายูง มีจำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ครบทั้ง 10 หมู่บ้าน
4.3 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
ระบบเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ (แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต.)
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่อ้อย และมีรายได้เฉลี่ยของประชากรเกิน 20,000 บาท ต่อคนต่อปี ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร
อาชีพของประชากรในพื้นที่
เกษตรกร (ทำนา ทำไร่อ้อย)
- ลูกจ้างภาคเอกชน
.รับจ้างทั่วไป
.เลี้ยงสัตว์ , ประมง
.รับราชการ
.ค้าขาย
.ทำสวน ,ทำไร่
.ธุรกิจส่วนตัว
.แม่บ้าน
นักเรียน , นักศึกษา
2.2 การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา และทำไร่อ้อย พื้นที่ทำการเกษตร 23,668 ไร่ ส่วนการเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้ใช้งาน บางส่วนเลี้ยงไว้สำหรับบริโภคเอง และเพื่อจำหน่าย เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ 2.3 การพาณิชยกรรมและบริการ
สถานประกอบการค้าด้านพาณิชยกรรม ประกอบด้วย
1. บ้านเช่า จำนวน 1 แห่ง
2. รีสอร์ท จำนวน 1 แห่ง
- วังเกษตรรีสอร์ท
-8-
3. ปั๊มน้ำมัน จำนวน 4 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน หมู่ 8 หมู่ 6 หมู่ 4 หมู่ 9
4. โรงสีข้าว จำนวน 8 แห่ง
- นายสุชาติ พรมกุล หมู่ 1
- นางสุมาลี เประกันยา หมู่ 3
- นายสุวรรณ รสธรรม หมู่ 3
- นายกมล กิตติราช หมู่ 5
- นายธงชัย คำโคตรสูนย์ หมู่ 5
- นายรงค์ เหล่ารัตน์ หมู่ 8
- นายเสือ เกษโสภา หมู่ 10
5. ร้านค้าขนาดย่อม จำนวน 19 แห่ง
6. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ จำนวน 2 แห่ง
7. ร้านอู่ซ่อมรถอีแต๋น จำนวน 3 แห่ง
8. ร้านซ่อมรถ จำนวน 3 แห่ง
9. โรงขนมจีน จำนวน 1 แห่ง
10. เสาโทรศัพท์ จำนวน 4 แห่ง
11. ร้านอาหาร จำนวน 1 แห่ง
12. บ่อนไก่ จำนวน 1 แห่ง
13. ลานมัน/ลานอ้อย จำนวน 3 แห่ง
14. เนสเล่ไอศครีม จำนวน 1 แห่ง
15. อู่ซ่อมรถสิบล้อ จำนวน 1 แห่ง
16. ร้านเย็บผ้า จำนวน 1 แห่ง
17. ขายปลา จำนวน 2 แห่ง
18. ร้านเกมส์ จำนวน 2 แห่ง
19. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
20. คลินิก จำนวน 1 แห่ง
21. ตู้โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 2 แห่ง
เศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
-9-
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค)
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
วัด / สำนักสงฆ์ จำนวน 10 แห่ง
- วัดป่าโพนพระเจ้า หมู่ที่ 5
- วัดโพธิ์ชัย หมู่ที่ 1
- วัดโนนตาล หมู่ที่ 9
- วัดศิริปัญญาเมตตาธรรม หมู่ที่ 8
- วัดปทุม หมู่ที่ 4
- วัดสว่างบรมนิวาส หมู่ที่ 7
- วัดโพธิ์สง่าศรีจำปา หมู่ที่ 2
- วัดศิริมงคล หมู่ที่ 6
- วัดป่าบึงกุดเต่า หมู่ที่ 9
- วัดโพธิ์ศรี หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 8
ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีประจำปีประเพณีงานภูไท จัดเป็นประจำทุกปีตรงกับวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี งานบุญบั้งไฟ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ประชาชนในพื้นที่ตำบลนายูงส่วนใหญ่จะพูดภาษาภูไท ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ภาษาอีสาน 20 เปอร์เซ็นต์
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองจะเป็นผ้าถุงลายนกยูง และชุดภูไท
น้ำ
แหล่งน้ำส่วนใหญ่เป็นห้วย หนอง คลองบึง และลำน้ำปาว โดยประชาชนในพื้นที่ใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่
ป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ในเขตพื้นที่ยังคงเหลืออยู่ประมาณ 1,000 ไร่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ตั้งของวัด หรือสำนักสงฆ์ สภาพป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของต้นไม้ เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้จิก ฯลฯ
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพของป่าไม้อยู่ในขั้นวิกฤต ลำน้ำปาวไหลผ่านพื้นที่แต่ไม่ได้รับการดูแล บำรุงรักษาเท่าที่ควรเป็นการปล่อยผ่านไปตามธรรมชาติเป็นเหตุให้แหล่งน้ำเสื่อมโทรม และปัญหาการบุกรุก การรุกล้ำน่านน้ำของประชาชนในพื้นที่ ทรัพยากรน้ำถูกรบกวนในฤดูวางไข่โดยคนนอกพื้นที่ แม้ว่ากรมประมงจะได้ใช้มาตรการเด็ดขาดก็ตาม
อื่น ๆ
../add_file/ 3.ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรและจำนวนหมู่บ้าน (แสดงจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ณ เดือน 30 กันยายน พ.ศ. 2560)
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวนครัวเรือน
|
แยกตามเพศ
|
รวม
|
ชาย
|
หญิง
|
1
|
นายูง
|
99
|
183
|
193
|
376
|
2
|
นาม่วง
|
65
|
158
|
170
|
328
|
3
|
นาฮี
|
155
|
364
|
391
|
755
|
4
|
หนองกุงปาว
|
166
|
369
|
382
|
751
|
5
|
โคกหนองแวง
|
162
|
284
|
295
|
579
|
6
|
หนองอึ่ง
|
114
|
250
|
253
|
503
|
7
|
คำดอกไม้
|
90
|
173
|
160
|
333
|
8
|
นาฮี
|
107
|
252
|
246
|
498
|
9
|
โคกหนองแวง
|
137
|
272
|
291
|
563
|
10
|
นายูง
|
84
|
188
|
176
|
364
|
รวม
|
1,179
|
2,493
|
2,557
|
5,050
|
ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียนอำเภอศรีธาตุ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 10 ประชากรทั้งสิ้น 5,050 คน แยกเป็นชาย 2,493 คน หญิง 2,557 คน จำนวนครัวเรือน 1,179 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร
1.ผู้นำชุมชนในเขตตำบลนายูง
หมู่ที่ 1 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายอุดร เหมือยพรม
หมู่ที่ 2 บ้านนาม่วง ผู้ใหญ่บ้าน นายพิษณุกุล สอนสกุล
หมู่ที่ 3 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายสมใจ ภูมิโคตร
หมู่ที่ 4 บ้านหนองกุงปาว ผู้ใหญ่บ้าน นายอดุลย์ คำฤาชัย
หมู่ที่ 5 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายวิทยา บุตรอินทร์
-5-
หมู่ที่ 6 บ้านหนองฮึ่ง ผู้ใหญ่บ้าน นายแสวง หลักคำ
หมู่ที่ 7 บ้านคำดอกไม้ กำนันตำบลนายูง นายสมบูรณ์ สอนสกุล
หมู่ที่ 8 บ้านนาฮี ผู้ใหญ่บ้าน นายมงคล จันทาสี
หมู่ที่ 9 บ้านโคกหนองแวง ผู้ใหญ่บ้าน นายทองเพชร คำฤาชัย
หมู่ที่ 10 บ้านนายูง ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญหลาย เกษโสภา
สภาพทางสังคม
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนายูง
2. โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
- โรงเรียนบ้านหนองกุงปาว
- โรงเรียนบ้านโครกหนองแวง
- โรงเรียนบ้านคำดอกไม้
3. โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนบ้านนายูง
สาธารณสุข
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 1 แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลนายูง
2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 10 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาม่วง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองกุงปาว
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านหนองอึ่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านคำดอกไม้
-6-
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนาฮี
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านโคกหนองแวง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานบ้านนายูง
3. เครือข่าย อสม. ( 10 หมู่บ้าน ) จำนวน 100 คน
4. อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 90 อีก ร้อยละ 5 ใช้แบบชักโครก
อาชญากรรม
ปัญหาอาชญากรรมไม่มีความรุนแรง โดยส่วนใหญ่เป็นอาชญากรรมประเภทลักษณะเล็กน้อย แต่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก เป็นพฤติกรรมของวัยรุ่น วัยคะนอง
ยาเสพติด
การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาด้านผู้เสพ ซึ่งมีทั้งเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ทำงาน เป็นการเสพเพื่อทดลองและตามกระแสเพื่อน สำหรับการระบาดหลัก ๆ คือยาบ้า ในส่วนของบุหรี่ สุรา ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับชุมชนทั่วไป
การสังคมสงเคราะห์
ส่วนใหญ่จะได้รับสวัสดิการจากภาครัฐอยู่แล้ว เบี้ยยังชีพ คนพิการ ผู้ป่วยติดเชื้อ สำหรับผู้ด้อยโอกาสอื่น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลได้ให้ความช่วยเหลือตามอำนาจหน้าที่ และตามหลักมนุษยชนทั่วไป
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ตำบลนายูง มีเส้นทางการคมนาคมไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดใกล้เคียง โดยใช้รถยนต์ และรถประจำทาง
มีถนนของกรมทางหลวง 1 สาย คือ
1. ถนนศรีธาตุ-วังสามหมอ ผ่านบ้านนาม่วง บ้านโคกแหนองแวง และบ้านหนองกุงปาว
ถนนลาดยางเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน
ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายในตำบล รอบนอกเป็นทางลาดยางลักษณะเป็นวงกลม ส่วนถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านภายใน ส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง ลักษณะใยแมงมุม
ส่วนถนนสายภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนน คสล. ถนนลาดยางในเส้นทางหลักและอีกจำนวนมากยังเป็นถนนลูกรัง
4.2 การไฟฟ้า (แสดงถึงจำนวนหมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึงและจำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า)
ตำบลนายูง มีจำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ครบทั้ง 10 หมู่บ้าน
4.3 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง
ระบบเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ (แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต.)
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่อ้อย และมีรายได้เฉลี่ยของประชากรเกิน 20,000 บาท ต่อคนต่อปี ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร
อาชีพของประชากรในพื้นที่
เกษตรกร (ทำนา ทำไร่อ้อย)
- ลูกจ้างภาคเอกชน
.รับจ้างทั่วไป
.เลี้ยงสัตว์ , ประมง
.รับราชการ
.ค้าขาย
.ทำสวน ,ทำไร่
.ธุรกิจส่วนตัว
.แม่บ้าน
นักเรียน , นักศึกษา
2.2 การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา และทำไร่อ้อย พื้นที่ทำการเกษตร 23,668 ไร่ ส่วนการเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่เลี้ยงไว้ใช้งาน บางส่วนเลี้ยงไว้สำหรับบริโภคเอง และเพื่อจำหน่าย เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ 2.3 การพาณิชยกรรมและบริการ
สถานประกอบการค้าด้านพาณิชยกรรม ประกอบด้วย
1. บ้านเช่า จำนวน 1 แห่ง
2. รีสอร์ท จำนวน 1 แห่ง
- วังเกษตรรีสอร์ท
-8-
3. ปั๊มน้ำมัน จำนวน 4 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน หมู่ 8 หมู่ 6 หมู่ 4 หมู่ 9
4. โรงสีข้าว จำนวน 8 แห่ง
- นายสุชาติ พรมกุล หมู่ 1
- นางสุมาลี เประกันยา หมู่ 3
- นายสุวรรณ รสธรรม หมู่ 3
- นายกมล กิตติราช หมู่ 5
- นายธงชัย คำโคตรสูนย์ หมู่ 5
- นายรงค์ เหล่ารัตน์ หมู่ 8
- นายเสือ เกษโสภา หมู่ 10
5. ร้านค้าขนาดย่อม จำนวน 19 แห่ง
6. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ จำนวน 2 แห่ง
7. ร้านอู่ซ่อมรถอีแต๋น จำนวน 3 แห่ง
8. ร้านซ่อมรถ จำนวน 3 แห่ง
9. โรงขนมจีน จำนวน 1 แห่ง
10. เสาโทรศัพท์ จำนวน 4 แห่ง
11. ร้านอาหาร จำนวน 1 แห่ง
12. บ่อนไก่ จำนวน 1 แห่ง
13. ลานมัน/ลานอ้อย จำนวน 3 แห่ง
14. เนสเล่ไอศครีม จำนวน 1 แห่ง
15. อู่ซ่อมรถสิบล้อ จำนวน 1 แห่ง
16. ร้านเย็บผ้า จำนวน 1 แห่ง
17. ขายปลา จำนวน 2 แห่ง
18. ร้านเกมส์ จำนวน 2 แห่ง
19. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
20. คลินิก จำนวน 1 แห่ง
21. ตู้โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 2 แห่ง
เศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
-9-
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค)
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
วัด / สำนักสงฆ์ จำนวน 10 แห่ง
- วัดป่าโพนพระเจ้า หมู่ที่ 5
- วัดโพธิ์ชัย หมู่ที่ 1
- วัดโนนตาล หมู่ที่ 9
- วัดศิริปัญญาเมตตาธรรม หมู่ที่ 8
- วัดปทุม หมู่ที่ 4
- วัดสว่างบรมนิวาส หมู่ที่ 7
- วัดโพธิ์สง่าศรีจำปา หมู่ที่ 2
- วัดศิริมงคล หมู่ที่ 6
- วัดป่าบึงกุดเต่า หมู่ที่ 9
- วัดโพธิ์ศรี หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 8
ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีประจำปีประเพณีงานภูไท จัดเป็นประจำทุกปีตรงกับวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี งานบุญบั้งไฟ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ประชาชนในพื้นที่ตำบลนายูงส่วนใหญ่จะพูดภาษาภูไท ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ภาษาอีสาน 20 เปอร์เซ็นต์
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองจะเป็นผ้าถุงลายนกยูง และชุดภูไท
น้ำ
แหล่งน้ำส่วนใหญ่เป็นห้วย หนอง คลองบึง และลำน้ำปาว โดยประชาชนในพื้นที่ใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่
ป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ในเขตพื้นที่ยังคงเหลืออยู่ประมาณ 1,000 ไร่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ตั้งของวัด หรือสำนักสงฆ์ สภาพป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของต้นไม้ เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้จิก ฯลฯ
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพของป่าไม้อยู่ในขั้นวิกฤต ลำน้ำปาวไหลผ่านพื้นที่แต่ไม่ได้รับการดูแล บำรุงรักษาเท่าที่ควรเป็นการปล่อยผ่านไปตามธรรมชาติเป็นเหตุให้แหล่งน้ำเสื่อมโทรม และปัญหาการบุกรุก การรุกล้ำน่านน้ำของประชาชนในพื้นที่ ทรัพยากรน้ำถูกรบกวนในฤดูวางไข่โดยคนนอกพื้นที่ แม้ว่ากรมประมงจะได้ใช้มาตรการเด็ดขาดก็ตาม
อื่น ๆ
ชื่อไฟล์ : แผนพัฒนา 4 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2564)
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิมมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทาง
ราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
ลักษณะแหล่งน้ำ
1 แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก
- ห้วยฮี
- ห้วยโพธิ์
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง
มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนพัฒนา 4 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2564)
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิมมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทาง
ราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
ลักษณะแหล่งน้ำ
1 แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก
- ห้วยฮี
- ห้วยโพธิ์
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง
มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: แผนพัฒนา 4 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2564)
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิมมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทาง
ราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
ลักษณะแหล่งน้ำ
1 แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก
- ห้วยฮี
- ห้วยโพธิ์
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง
มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
../add_file/แผนพัฒนา 4 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2564)
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลนายูง
สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
ตำบลนายูง อยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอศรีธาตุ แต่ก่อนตำบลนายูง ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมา เมื่อราวปี พ.ศ.2380 ชนชาวภูไทได้อพยพข้ามฝั่งแม่น้ำโขง (เมืองวัง) ได้แยกจากภูไทส่วนอื่น ๆ โดยพากันอพยพข้ามแม่น้ำโขงมาทางฝั่งขวา เพราะไม่พอใจในการปกครองขอพระยาก่ำ ซึ่งเป็นคนดุร้ายปราศจากความเมตตาธรรม เดินทางมาเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็เข้าเขตเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งในขณะนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเมืองหนองหาน ชาวภูไทได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่เมืองท่าขอนยาง โดยมี “อัญญาหลวง” เป็นผู้ปกครองเมือง อัญญาหลวง นี้เดิมที่มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเมืองวังของพระยาก่ำ แต่ได้อพยพมาก่อนพร้อมกับภูไทส่วนหนึ่ง เพราะไม่ชอบการปกครองของพระยาก่ำ และได้เดินทางหนีมาเรื่อย ๆ จนมาถึงหนองน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งกว้างมาก มีไม้ขึ้นร่มเย็น อุดรสมบูรณ์เป็นที่อาศัยของหมู่ปลานานาชนิด และเต็มไปด้วยฝูงสัตว์ป่านานาชนิด เมื่อเที่ยวดูภูมิประเทศรอบ ๆ หนองจนเป็นที่พอใจแล้ว ผู้นำในการเดินทางจึงบอกให้พักชั่วคราว และเรียกหนองแห่งนี้ว่าหนองซวาย และได้ตกลงกันเอาพื้นที่ที่ห่างออกไปจากหนองซวาย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ณ บริเวณแห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านนายูง” มาจนทุกวันนี้ บ้านนายูง กับเมืองท่าขอนยาง มีความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพราะ อัญญาหลวง ผู้นั้นเป็นชนเผ่าเดียวกันกับภูไทในหมู่บ้านนายูง และท่านได้มองเห็นความสำคัญของหมู่บ้านนายูง จึงได้มาทำการจัดผู้นำในการปกครอง โดยให้ท้าวชินฮาด เป็นผู้นำในการปกครองแล้วมี หลวงจางวาง ท้าวไชยนนท์ และท้าวหมื่นหน้า เป็นคณะที่ปรึกษาหมู่บ้าน อัญญาหลวง ได้มีความประทับใจและปรารถนาอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ที่บ้านนายูง แต่ไม่สามารถจะมาอยู่ได้ เนื่องจากมีภาระหน้าที่ไม่อาจจะละทิ้งได้จึงได้มาตั้งศาลา 5 ห้อง ไว้เป็นที่ทำการ หลายปีต่อมา อัญญาหลวงได้เกิดล้มป่วยจึงได้สั่งกับหลานภูไทว่าเมื่อท่านถึงแก่กรรมแล้ว ขอให้นำเอากระดูกของท่านมาเก็บไว้ที่บ้านนายูง เมื่อท่านถึงแก่กรรม พวกหลานก็ได้ทำตามความประสงค์ของท่าน ต่อมาเมื่อได้มีการสร้างโบสถ์ จึงได้นำเอากระดูกของท่านอัญญาหลวงบรรจุได้ที่ฐานของโบสถ์ (ปัจจุบันอยู่ที่ วัดโพธิ์ชัย บ้านนายูง) ซึ่งชาวบ้านได้สักการระบูชามาจนทุกวันนี้ ต่อมาประชากรได้เพิมมากขึ้น ปี พ.ศ. 2411 ทาง
ราชการจึงได้ยกฐานะบ้านนายูงขึ้นเป็นตำบลนายูงขึ้นต่ออำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ต่อมาได้ขึ้นต่ออำเภอศรีธาตุจนถึงปัจจุบัน
1.2 ลักษณะที่ตั้ง
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนายูง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ที่ 2 ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
1.3 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มลาดเอียงลงมาทางทิศใต้ ที่มีการใช้ที่ดินในการทำนาข้าว ปลูกอ้อยและเป็นที่ตั้งของชุมชนมีความลาดชันของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 0 – 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตชลประทาน มีลำห้วยกอก ลำห้วยฮี ลำห้วยโพธิ์ โดยมีทิศทางการลาดเทของพื้นที่จากทางด้านทิศเหนือไปทางด้านทิศใต้ของตำบล และมีความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 150 – 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
1.4 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมที่พัดมาจากประเทศจีน จะพัดเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน จะมีอากาศร้อนและอบอ้าว ส่วนฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม โดยฝนที่ตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แต่ไม่มากนัก ปริมาณฝนที่ตกในบริเวณนี้ส่วนใหญ่เกิดจากพายุดีเปรสชัน มีลักษณะเป็นลมพายุหมุนมีทิศทางไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะเคลื่อนตัวมาจากทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปจนถึงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าปีใดมีพายุดีเปรสชันมาถึงน้อยก็จะพบกับความแห้งแล้งกระทบต่อการเกษตร แต่ถ้าพายุดีเปรสชันเข้ามาติดต่อกันทำให้ฝนตกต่อเนื่องหลายวันก็มักจะเกินน้ำท่วม พายุดีเปรสชันจะมีอิทธิพลเด่นขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน
ปริมาณน้ำฝน
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,474.04 มิลลิเมตร จำนวนวันฝนตกประมาณ 124.27 วัน เดือนสิงหาคมจะมีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 312.35 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุด 1.00 มิลลิเมตร
อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 12 องศาเซลเซียส และเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 40 องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินของตำบลนายูงมีลักษณะดินร่วนปนทราย ดินร่วนดำ
ลักษณะแหล่งน้ำ
1 แหล่งน้ำธรรมชาติ
1.1 ห้วย/หนอง/คลอง/บึง/สระ จำนวน 3 แห่ง/สาย ห้วย
- ห้วยกอก
- ห้วยฮี
- ห้วยโพธิ์
บึง
- บึงกุดเฒ่า
- บึงหมอกมิวาย
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 136 แห่ง
2. ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง
3. ฝาย คสล. จำนวน 9 แห่ง
4. สระน้ำประจำหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
ลักษณะของไม้และป่าไม้
ลักษณะของไม้และป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าไม้เขตร้อน มีไม้จำพวก ไม้จิก ไม้กุง ไม้ยาง ประดู่ ไม้สัก ไม้รัง เป็นส่วนใหญ่
2. ด้านการเมืองการ/ปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลนายูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,797 ไร่ หรือประมาณ 74.88 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากอำเภอศรีธาตุ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดอุดรธานี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 76 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ
ทิศใต้ จดลำน้ำปาวเขตอำเภอท่าคันโท อำเภอท่าคันโท
ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหนองนกเขียน อำเภอศรีธาตุ
ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลศรีธาตุ อำเภอศรีธาตุ
การเลือกตั้ง ลักษณะการเลือกตั้ง
มีการเลือกตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน และการเลือกตั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ชื่อไฟล์ : ถ้ามีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง
ภาษีโรงเรือนและที่ดินคืออะไร
ความหมายของภาษีโรงเรือนและที่ดินมีดังนี้
คือ ภาษีที่จัดเก็บจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โรงเรือน หมายความถึง บ้าน ตึกแถว อาคาร ร้านค้า สำนักงาน บริษัท ธนาคาร โรงแรม
โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล โรงเรียน แฟลต อาพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม หอพัก สนามม้า สนามมวย คลังสินค้า เรือนแพ ฯลฯ สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่น ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น
ท่าเรือ สะพาน อ่างเก็บน้ำ คานเรือ ถังเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ หมายถึง ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น และบริเวณต่อเนื่องซึ่งใช้ด้วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่ดิน หมายความรวมถึง ทางน้ำ บ่อน้ำ สระน้ำ ด้วย
ดังนั้นลักษณะของที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินก็คือ ทรัพย์สินต่างๆได้หาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี?
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่
ประเภททรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีได้แก่ อาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ กับที่ดินต่อเนื่องซึ่งใช้ปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ รวมถึงบริเวณที่ต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ ซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้นำทรัพย์สินดังกล่าวออกหาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์สินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
(1) โรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
(2) ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ซึ่งหมายความว่าเป็นที่ดินซึ่งใช้เป็นที่ปลูกสร้างโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ และที่ดินอันเป็นบริเวณต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติ ใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ
ทรัพย์สินที่ไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน?
ทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นภาษี ได้แก่
(1) พระราชวังอันเป็นส่วนของแผ่นดิน
(2) ทรัพย์สินของรัฐบาลที่ใช้ในกิจการของรัฐบาล หรือสาธารณะและทรัพย์สินของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่ใช้ในกิจการรถไฟโดยตรง
(3) ทรัพย์สินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียนสาธารณะ ซึ่งกระทำกิจการอันมิใช่เพื่อเป็นผลกำไรส่วนบุคคลและใช้เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา
(4) ทรัพย์สินซึ่งเป็นศาสนสมบัติอันใช้เฉพาะในศาสนกิจอย่างเดียวหรือเป็นที่อยู่ของสงฆ์
(5) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งปิดไว้ตลอดปีและเจ้าของมิได้อยู่เองหรือให้ผู้อื่นอยู่นอกจากคนเฝ้าในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง อย่างอื่น ๆ หรือในที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกัน
(6) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการเคหะแห่งชาติที่ผู้เช่าซื้ออาศัยอยู่เองโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม หรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2535 ยกเว้นพื้นที่อ่างเก็บน้ำ เขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ซึ่งเป็นที่ต่อเนื่อง
การขอลดหย่อนภาษี
การขอลดหย่อนภาษี การขอยกเว้น การงดเว้น การขอปลดภาษี การขอลดค่าภาษี จะทำได้ดังกรณีต่อไปนี้
- ถ้าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ถูกรื้อถอนหรือทำลาย ให้ลดยอดค่ารายปีของทรัพย์สินนั้นตามส่วนที่ถูกทำลายตลอดเวลาที่ยังไม่ได้ทำขึ้น แต่ในเวลานั้นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ นั้นต้องเป็นที่ซึ่งยังใช้ไม่ได้
- โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งทำขึ้นในระหว่างปีนั้น ให้ถือเอาเวลาซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ
นั้นได้มีขึ้นและสำเร็จจนควรเข้าอยู่ได้แล้วเท่านั้นมาเป็นเกณฑ์คำนวณค่ารายปี
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนใดติดตั้งส่วนควบที่สำคัญที่มีลักษณะเป็นเครื่องจักรกล เครื่องกระทำหรือเครื่องกำเนิดสินค้าเพื่อใช้ดำเนินการอุตสาหกรรมบางอย่าง เช่น โรงสี โรงเลื่อย ฯลฯ ขึ้นในโรงเรือนนั้น ๆ ในการประเมินให้ลดค่ารายปีลงเหลือหนึ่งในสามของค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น รวมทั้งส่วนควบดังกล่าว แล้วด้วย
- เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นได้รับความเสียหายเพราะโรงเรือนว่างลงหรือชำรุดจึงจำเป็นต้องซ่อมแซมส่วนสำคัญ
เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้นมีสิทธิขอลดภาษีได้ ทั้งนี้เป็นไปตามดุลพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะลดค่าภาษีตามส่วนที่เสียหายหรือปลดภาษีทั้งหมดก็ได้
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนมีเหตุเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินในปีที่ผ่านมาย่อมได้รับการยกเว้น งดเว้น ปลดภาษี หรือลดค่าภาษี แล้วแต่กรณี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ “ผู้รับประเมิน” ซึ่งหมายถึง เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่ถ้าที่ดินและอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นคนละเจ้าของกันให้เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอาคารโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
กำหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ
ให้ผู้รับประเมินยื่นแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.2) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
ฐานภาษี
ฐานภาษีคือ ค่ารายปีของทรัพย์สินซึ่งหมายถึง จำนวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ
ในกรณีที่ทรัพย์สินนั้นให้เช่าและค่าเช่านั้นเป็นจำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ให้ถือค่าเช่านั้นเป็นค่ารายปี
แต่ถ้ามีกรณีที่สมควรจะให้พิจารณาได้ว่าค่าเช่านั้นมิใช่จำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ หรือกรณีที่ไม่มีค่าเช่าเนื่องจากเจ้าของทรัพย์สินดำเนินกิจการเองหรือ ด้วยเหตุอื่น ๆ ให้พิจารณากำหนดค่ารายปีโดยเทียบเคียงกับค่ารายปีของทรัพย์สินที่ให้เช่าที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทำเลที่ตั้งและบริการสาธารณะซึ่งทรัพย์สินนั้นได้รับประโยชน์คล้ายคลึงกัน
อัตราภาษี
อัตราภาษีให้เสียในอัตราร้อยละสิบสองจุดห้าของค่ารายปี
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษี
การยื่นแบบพิมพ์
ให้ผู้รับประเมินขอรับแบบ ภ.ร.ด.2 ได้ที่สำนักงานเขตโดยกรอกรายการในแบบ ภ.ร.ด.2 ตามความเป็นจริงให้ครบถ้วน รับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงลายมือชื่อ วันที่ เดือน ปี กำกับไว้ แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ ณ สำนักงานเขตที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์ จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ (ให้ถือวันที่ส่งทางไปรษณีย์เป็นวันยื่นแบบพิมพ์)
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
กรณีโรงเรือนรายใหม่ : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่เคยยื่นแบบเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินมาก่อน ยื่นแบบเสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โดยยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ พร้อมสำเนาหลักฐานประกอบการพิจารณาได้แก่
- โฉนดที่ดินที่ปลูกสร้างโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
- หนังสือสัญญาขาย หรือสัญญาให้ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
- ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร, ใบอนุญาตให้ใช้อาคาร
- ใบให้เลขหมายประจำบ้าน
- สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของโรงเรือน, สำเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ/บัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
- หลักฐานการเปิดดำเนินกิจการ เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท/ ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม / ทะเบียนพาณิชย์
- สำเนางบการเงิน (กรณีเป็นนิติบุคคล)
- หลักฐานของสรรพากรเช่น ภ.พ.01, ภ.พ.09, ภ.พ.20
- ใบอนุญาตตั้งและ/หรือประกอบกิจการโรงงาน
- ใบอนุญาตติดตั้งเครื่องจักร
- ใบอนุญาตของฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
- ใบเสร็จค่าติดตั้งมิเตอร์น้ำประปา / ไฟฟ้า
- สัญญาเช่าโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)
- หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์โรงเรือนที่พิกัดภาษี
หมายเหตุ ให้ผู้รับประเมิน หรือ เจ้าของโรงเรือนถ่ายสำเนาหลักฐาน เอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้น พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องกำกับทุกฉบับ
กรณีโรงเรือนรายเก่า : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี พร้อมใบเสร็จรับเงิน การเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี) กรณีเจ้าของเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทพร้อมการยื่นแบบ ภ.ร.ด.2
การชำระภาษี
ผู้รับประเมินได้รับใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.8) ให้ชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบแจ้งการประเมิน โดยชำระภาษีได้ที่สำนักงานเขตซึ่งโรงเรือนนั้นตั้งอยู่หรือที่กองการเงิน สำนักการคลัง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การชำระภาษีจะชำระโดยการส่งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือเช็คที่ธนาคารรับรองทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ และให้ถือว่าวันส่งทางไปรษณีย์เป็นวันรับชำระภาษี
การขอผ่อนชำระภาษี
ผู้มีสิทธิขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวด โดยไม่เสียเงินเพิ่มมีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี จะขอผ่อนชำระค่าภาษีได้ โดยวงเงินค่าภาษีที่จะขอผ่อนชำระนั้น จะต้องมีจำนวนเงินค่าภาษีตั้งแต่เก้าพันบาทขึ้นไป
2. ได้ยื่นแบบพิมพ์เพื่อแจ้งรายการทรัพย์สินต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีนั้น
3. ได้แจ้งความจำนงขอผ่อนชำระค่าภาษีเป็นหนังสือต่อพนักงานเก็บภาษี ภายใน 30 วันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
การเสียเงินเพิ่ม
เงินค่าภาษีค้างชำระให้เพิ่มจำนวนดังอัตราต่อไปนี้
1. ถ้าชำระไม่เกินหนึ่งเดือนนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ให้เพิ่มร้อยละ 2.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
2. ถ้าเกินหนึ่งเดือนแต่ไม่เกินสองเดือนให้เพิ่มร้อยละ 5 ของค่าภาษีที่ค้าง
3. ถ้าเกินสองเดือนแต่ไม่เกินสามเดือนให้เพิ่มร้อยละ 7.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
4. ถ้าเกินสามเดือนแต่ไม่เกินสี่เดือนให้เพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษีที่ค้าง
ถ้ามิได้มีการชำระค่าภาษีและเงินเพิ่มภายในสี่เดือนกรุงเทพมหานครมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ซึ่งค้างชำระค่าภาษีได้
ถ้าค่าภาษีค้างอยู่และมิได้ชำระขณะเมื่อทรัพย์สินได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม เจ้าของเก่าและเจ้าของใหม่เป็นลูกหนี้ค่าภาษีนั้นร่วมกัน
การอุทธรณ์ภาษี
เมื่อผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือเจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ได้รับแจ้งการประเมินแล้วไม่พอใจในการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยเห็นว่าค่าภาษีสูงเกินไป หรือประเมินไม่ถูกต้องก็มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยกรอกในแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.9) และยื่นแบบดังกล่าว ณ สำนักงานเขตท้องที่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน หากพ้นกำหนดดังกล่าวแล้ว ผู้รับประเมินหมดสิทธิที่จะขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ และไม่มีสิทธินำคดีสู่ศาล เว้นแต่ในปัญหาข้อกฎหมายซึ่งอ้างว่าเป็นเหตุหมดสิทธินั้น
เมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาเป็นประการใดจะแจ้งคำชี้ขาดไปยังผู้ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้รับประเมินยังไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจในคำชี้ขาดดังกล่าว ย่อมมีสิทธินำคดีสู่ศาลเพื่อแสดงให้ศาลเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้อง และขอให้ศาลเพิกถอนการประเมินนั้นเสีย แต่ต้องทำภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันรับแจ้งคำชี้ขาด และการยื่นฟ้องต้องเป็นที่พอใจศาลว่าผู้รับประเมินได้ชำระค่าภาษีทั้งสิ้นซึ่งถึงกำหนดชำระหรือจะถึงกำหนดชำระระหว่างคดียังอยู่ในศาล
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้มีการลดจำนวนเงินที่ประเมินไว้ให้ยื่นคำขอรับเงินคืนได้ที่สำนักงานเขต โดยแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมสำเนาใบเสร็จรับเงินประกอบด้วยกรณีที่ศาลพิพากษาให้ลดค่าภาษีศาลจะพิพากษาคืนเงินส่วนที่ลดนั้นให้ภายใน 3 เดือน
บทกำหนดโทษ
- ผู้รับประเมิน ผู้เช่า หรือผู้ครองทรัพย์สินกรอกรายการในแบบพิมพ์ตามความเป็นจริงตามความรู้เห็นของตนให้ครบถ้วน และรับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงวันที่ เดือน ปี และลงลายมือชื่อของตนกำกับไว้แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ หากผู้ใดละเลยไม่แสดงข้อความข้างต้น เว้นแต่จะเป็นด้วยเหตุสุดวิสัย ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
- ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจละเลยไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่แจ้งรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้นเมื่อเรียกร้อง ไม่นำพยานหลักฐานมาแสดง หรือไม่ตอบคำถามเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ซักถาม (ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มิได้รับคำตอบจากผู้รับประเมินภายในสิบวัน หรือได้รับคำตอบอันไม่เพียงพอ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกหมายเรียกผู้รับประเมินมา ณ สถานที่ซึ่งเห็นสมควรและให้นำพยานหลักฐานในเรื่องอสังหาริมทรัพย์นั้นมาแสดง กับให้มีอำนาจซักถามผู้รับประเมินในเรื่องใบแจ้งรายการนั้น) ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
- ผู้ใด
ก) โดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจยื่นข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบคำถามด้วยคำอันเป็นเท็จหรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือจัดหาทางให้ผู้อื่นหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร
ข) โดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉ้อโกง โดยอุบาย โดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดทั้งสิ้นที่จะหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การประเมินค่ารายปีของทรัพย์สิน ฉบับลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2535
: กฎกระทรวงฉบับที่ 2(พ.ศ.2541)ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475
รู้ทันกับการเสียภาษีโรงเรือน
มีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง แต่ถ้าคนให้เช่ากับเจ้าของเป็นคนละคนกันเมื่อไรก็ไม่ต้องมองตาคุมเชิงว่าจะตกได้แก่ใคร กฎหมายท่านกำหนดไว้ว่า เจ้าของโรงเรือนสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้รับหน้าที่อันทรงเกียรตินี้ไว้
เจ้าของอาจตกลงกันว่าตึกแถวชุดนี้ฉันให้พี่นำไปหาประโยชน์ได้ แต่ต้องจ่ายภาษีทั้งหลายเอาเอง หรือผู้ให้เช่าอาจผลักภาระนี้ให้กับ คนเช่ารับเหมาไปจ่ายเองก็ได้ หรือถ้าให้เช่าช่วงเป็นทอดต่อลงไป จะตกลงกันให้คนเช่าช่วงเป็นคนจ่ายภาษีส่วนนี้ให้ กฎหมายก็ไม่ว่ากระไรจะตกลงอย่างไรเป็นเรื่องส่วนตัวต่อเมื่อทางการไม่ได้รับเงินค่าภาษีโรงเรือนตามจำนวนและตามกำหนดที่ออกจดหมายแจ้งไปเมื่อไรนั่นแหละถึงจะว่ากล่าวเอาความเราได้เมื่อนั้น
งานนี้คนที่แบกรับเต็มๆคือ เจ้าของโรงเรือน ไม่ว่าคนเช่าลืมจ่ายหรือด้วยเหตุขัดข้องอื่นใด ก็ไม่สามารถโยนกลองโยนลูกอย่างไรให้พ้นตัวได้ เพราะกฎหมายท่านกำหนดคนรับผิดชอบไว้ชัดโดยจัดเอาไว้ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าของโรงเรือนต่อให้มีปัญหากับคนเช่าเพราะเขาผิดสัญญา ไม่เพียงไม่จ่ายค่าภาษีโรงเรือนเท่านั้น ผู้เช่ายังปิดห้องหลบหนีไปไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าอีกด้วยก็ตามที ก็ต้องไปทวงหนี้ติดตามกันเอาเอง
ทีนี้รายที่สัญญาเช่าครบกำหนดไปแล้วแต่ไม่ยอมออกไป จนต้องฟ้องร้องขับไล่ค่าเช่าก็ไม่ได้เพราะไม่ได้ให้ใครเช่าต่อ แบบนี้มีสงสัยว่าทำไมยังเรียกเก็บภาษีอีก เหตุผลก็มีอยู่ว่าถ้ามีสิ่งปลูกสร้างทางการเขาตั้งเป็นหลักเอาไว้ให้ต้องเสียภาษีโรงเรือนแม้แต่จะเปิดเป็นบริษัทของตัวเองไม่ได้ให้ใครเขาเช่าก็ต้องจ่ายภาษี เว้นแต่จะเป็นบ้านที่มีไว้อยู่เองหรือปิดตายไว้แต่ให้คนเฝ้า โดยไม่ได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้า ก็ได้รับยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี ดังนั้นการที่มีตึกแถวไว้แม้จะไม่ได้คนเช่าใหม่ก็ย่อมต้องเสียภาษีโรงเรือนต่อไปตามปกติ โดยคำนวณภาษีเอาจากค่ารายปีที่ดูจากเงินที่ควรได้หากจะให้เช่าทรัพย์สินนั้นเป็นเกณฑ์ถ้ามีค่าเช่าก็เอาเป็นหลักคำนวณค่ารายปีได้เลย
บางรายหัวใสจัดสรรสัญญาเช่าโดยเรียกเก็บเงินกินเปล่าก้อนหนึ่ง แล้วเก็บค่าเช่าเดือนละไม่กี่สตางค์ จะได้จ่ายภาษีโรงเรือนตามเงินค่าเช่าที่ใส่ไว้ในสัญญา เป็นเจตนาเลี่ยงภาษีเห็นๆ ทำได้แต่จะรอดหรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง
ภาษีแบบนี้เป็นภาษีแบบประเมิน คือพนักงานเจ้าหน้าที่จะเป็นคนประเมินเอาว่าทรัพย์สินนี้น่าจะหาประโยชน์ได้ปีละเท่าไร ต่อให้เขียนในสัญญาเช่าอย่างไรหากไม่สมเหตุผล เจ้าหน้าที่ก็ประเมินจากฐานที่เห็นว่าสมควรได้ ถ้าไม่ถูกใจก็ต้องอุทธรณ์ฟ้องร้องกันต่อไปอีกยืดยาว
เงินกินเปล่าเหล่านั้นศาลท่านก็ถือว่าเป็นค่าตอบแทนจากการให้เช่าซึ่งนับเป็นการชำระค่าเช่าล่วงหน้าที่ถูกนำมาคำนวณเป็นค่ารายปีด้วยก็ถือเสียว่าช่วยชาติ ช่วยบำรุงท้องถิ่นเข้าไว้ ได้ประโยชน์จากทรัพย์สินก็แบ่งๆ ให้รัฐไป ถ้าไม่อยากสละทรัพย์เพื่อชาติขนาดนั้นก็อ่านข้อยกเว้นของกฎหมายแล้วทำตัวให้เข้าข่ายในเกณฑ์แล้วกัน
ถ้ามีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง
ภาษีโรงเรือนและที่ดินคืออะไร
ความหมายของภาษีโรงเรือนและที่ดินมีดังนี้
คือ ภาษีที่จัดเก็บจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โรงเรือน หมายความถึง บ้าน ตึกแถว อาคาร ร้านค้า สำนักงาน บริษัท ธนาคาร โรงแรม
โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล โรงเรียน แฟลต อาพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม หอพัก สนามม้า สนามมวย คลังสินค้า เรือนแพ ฯลฯ สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่น ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น
ท่าเรือ สะพาน อ่างเก็บน้ำ คานเรือ ถังเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ หมายถึง ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น และบริเวณต่อเนื่องซึ่งใช้ด้วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่ดิน หมายความรวมถึง ทางน้ำ บ่อน้ำ สระน้ำ ด้วย
ดังนั้นลักษณะของที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินก็คือ ทรัพย์สินต่างๆได้หาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี?
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่
ประเภททรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีได้แก่ อาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ กับที่ดินต่อเนื่องซึ่งใช้ปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ รวมถึงบริเวณที่ต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ ซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้นำทรัพย์สินดังกล่าวออกหาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์สินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
(1) โรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
(2) ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ซึ่งหมายความว่าเป็นที่ดินซึ่งใช้เป็นที่ปลูกสร้างโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ และที่ดินอันเป็นบริเวณต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติ ใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ
ทรัพย์สินที่ไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน?
ทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นภาษี ได้แก่
(1) พระราชวังอันเป็นส่วนของแผ่นดิน
(2) ทรัพย์สินของรัฐบาลที่ใช้ในกิจการของรัฐบาล หรือสาธารณะและทรัพย์สินของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่ใช้ในกิจการรถไฟโดยตรง
(3) ทรัพย์สินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียนสาธารณะ ซึ่งกระทำกิจการอันมิใช่เพื่อเป็นผลกำไรส่วนบุคคลและใช้เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา
(4) ทรัพย์สินซึ่งเป็นศาสนสมบัติอันใช้เฉพาะในศาสนกิจอย่างเดียวหรือเป็นที่อยู่ของสงฆ์
(5) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งปิดไว้ตลอดปีและเจ้าของมิได้อยู่เองหรือให้ผู้อื่นอยู่นอกจากคนเฝ้าในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง อย่างอื่น ๆ หรือในที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกัน
(6) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการเคหะแห่งชาติที่ผู้เช่าซื้ออาศัยอยู่เองโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม หรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2535 ยกเว้นพื้นที่อ่างเก็บน้ำ เขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ซึ่งเป็นที่ต่อเนื่อง
การขอลดหย่อนภาษี
การขอลดหย่อนภาษี การขอยกเว้น การงดเว้น การขอปลดภาษี การขอลดค่าภาษี จะทำได้ดังกรณีต่อไปนี้
- ถ้าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ถูกรื้อถอนหรือทำลาย ให้ลดยอดค่ารายปีของทรัพย์สินนั้นตามส่วนที่ถูกทำลายตลอดเวลาที่ยังไม่ได้ทำขึ้น แต่ในเวลานั้นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ นั้นต้องเป็นที่ซึ่งยังใช้ไม่ได้
- โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งทำขึ้นในระหว่างปีนั้น ให้ถือเอาเวลาซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ
นั้นได้มีขึ้นและสำเร็จจนควรเข้าอยู่ได้แล้วเท่านั้นมาเป็นเกณฑ์คำนวณค่ารายปี
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนใดติดตั้งส่วนควบที่สำคัญที่มีลักษณะเป็นเครื่องจักรกล เครื่องกระทำหรือเครื่องกำเนิดสินค้าเพื่อใช้ดำเนินการอุตสาหกรรมบางอย่าง เช่น โรงสี โรงเลื่อย ฯลฯ ขึ้นในโรงเรือนนั้น ๆ ในการประเมินให้ลดค่ารายปีลงเหลือหนึ่งในสามของค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น รวมทั้งส่วนควบดังกล่าว แล้วด้วย
- เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นได้รับความเสียหายเพราะโรงเรือนว่างลงหรือชำรุดจึงจำเป็นต้องซ่อมแซมส่วนสำคัญ
เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้นมีสิทธิขอลดภาษีได้ ทั้งนี้เป็นไปตามดุลพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะลดค่าภาษีตามส่วนที่เสียหายหรือปลดภาษีทั้งหมดก็ได้
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนมีเหตุเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินในปีที่ผ่านมาย่อมได้รับการยกเว้น งดเว้น ปลดภาษี หรือลดค่าภาษี แล้วแต่กรณี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ “ผู้รับประเมิน” ซึ่งหมายถึง เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่ถ้าที่ดินและอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นคนละเจ้าของกันให้เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอาคารโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
กำหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ
ให้ผู้รับประเมินยื่นแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.2) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
ฐานภาษี
ฐานภาษีคือ ค่ารายปีของทรัพย์สินซึ่งหมายถึง จำนวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ
ในกรณีที่ทรัพย์สินนั้นให้เช่าและค่าเช่านั้นเป็นจำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ให้ถือค่าเช่านั้นเป็นค่ารายปี
แต่ถ้ามีกรณีที่สมควรจะให้พิจารณาได้ว่าค่าเช่านั้นมิใช่จำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ หรือกรณีที่ไม่มีค่าเช่าเนื่องจากเจ้าของทรัพย์สินดำเนินกิจการเองหรือ ด้วยเหตุอื่น ๆ ให้พิจารณากำหนดค่ารายปีโดยเทียบเคียงกับค่ารายปีของทรัพย์สินที่ให้เช่าที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทำเลที่ตั้งและบริการสาธารณะซึ่งทรัพย์สินนั้นได้รับประโยชน์คล้ายคลึงกัน
อัตราภาษี
อัตราภาษีให้เสียในอัตราร้อยละสิบสองจุดห้าของค่ารายปี
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษี
การยื่นแบบพิมพ์
ให้ผู้รับประเมินขอรับแบบ ภ.ร.ด.2 ได้ที่สำนักงานเขตโดยกรอกรายการในแบบ ภ.ร.ด.2 ตามความเป็นจริงให้ครบถ้วน รับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงลายมือชื่อ วันที่ เดือน ปี กำกับไว้ แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ ณ สำนักงานเขตที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์ จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ (ให้ถือวันที่ส่งทางไปรษณีย์เป็นวันยื่นแบบพิมพ์)
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
กรณีโรงเรือนรายใหม่ : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่เคยยื่นแบบเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินมาก่อน ยื่นแบบเสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โดยยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ พร้อมสำเนาหลักฐานประกอบการพิจารณาได้แก่
- โฉนดที่ดินที่ปลูกสร้างโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
- หนังสือสัญญาขาย หรือสัญญาให้ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
- ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร, ใบอนุญาตให้ใช้อาคาร
- ใบให้เลขหมายประจำบ้าน
- สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของโรงเรือน, สำเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ/บัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
- หลักฐานการเปิดดำเนินกิจการ เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท/ ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม / ทะเบียนพาณิชย์
- สำเนางบการเงิน (กรณีเป็นนิติบุคคล)
- หลักฐานของสรรพากรเช่น ภ.พ.01, ภ.พ.09, ภ.พ.20
- ใบอนุญาตตั้งและ/หรือประกอบกิจการโรงงาน
- ใบอนุญาตติดตั้งเครื่องจักร
- ใบอนุญาตของฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
- ใบเสร็จค่าติดตั้งมิเตอร์น้ำประปา / ไฟฟ้า
- สัญญาเช่าโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)
- หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์โรงเรือนที่พิกัดภาษี
หมายเหตุ ให้ผู้รับประเมิน หรือ เจ้าของโรงเรือนถ่ายสำเนาหลักฐาน เอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้น พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องกำกับทุกฉบับ
กรณีโรงเรือนรายเก่า : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี พร้อมใบเสร็จรับเงิน การเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี) กรณีเจ้าของเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทพร้อมการยื่นแบบ ภ.ร.ด.2
การชำระภาษี
ผู้รับประเมินได้รับใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.8) ให้ชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบแจ้งการประเมิน โดยชำระภาษีได้ที่สำนักงานเขตซึ่งโรงเรือนนั้นตั้งอยู่หรือที่กองการเงิน สำนักการคลัง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การชำระภาษีจะชำระโดยการส่งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือเช็คที่ธนาคารรับรองทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ และให้ถือว่าวันส่งทางไปรษณีย์เป็นวันรับชำระภาษี
การขอผ่อนชำระภาษี
ผู้มีสิทธิขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวด โดยไม่เสียเงินเพิ่มมีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี จะขอผ่อนชำระค่าภาษีได้ โดยวงเงินค่าภาษีที่จะขอผ่อนชำระนั้น จะต้องมีจำนวนเงินค่าภาษีตั้งแต่เก้าพันบาทขึ้นไป
2. ได้ยื่นแบบพิมพ์เพื่อแจ้งรายการทรัพย์สินต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีนั้น
3. ได้แจ้งความจำนงขอผ่อนชำระค่าภาษีเป็นหนังสือต่อพนักงานเก็บภาษี ภายใน 30 วันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
การเสียเงินเพิ่ม
เงินค่าภาษีค้างชำระให้เพิ่มจำนวนดังอัตราต่อไปนี้
1. ถ้าชำระไม่เกินหนึ่งเดือนนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ให้เพิ่มร้อยละ 2.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
2. ถ้าเกินหนึ่งเดือนแต่ไม่เกินสองเดือนให้เพิ่มร้อยละ 5 ของค่าภาษีที่ค้าง
3. ถ้าเกินสองเดือนแต่ไม่เกินสามเดือนให้เพิ่มร้อยละ 7.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
4. ถ้าเกินสามเดือนแต่ไม่เกินสี่เดือนให้เพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษีที่ค้าง
ถ้ามิได้มีการชำระค่าภาษีและเงินเพิ่มภายในสี่เดือนกรุงเทพมหานครมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ซึ่งค้างชำระค่าภาษีได้
ถ้าค่าภาษีค้างอยู่และมิได้ชำระขณะเมื่อทรัพย์สินได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม เจ้าของเก่าและเจ้าของใหม่เป็นลูกหนี้ค่าภาษีนั้นร่วมกัน
การอุทธรณ์ภาษี
เมื่อผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือเจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ได้รับแจ้งการประเมินแล้วไม่พอใจในการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยเห็นว่าค่าภาษีสูงเกินไป หรือประเมินไม่ถูกต้องก็มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยกรอกในแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.9) และยื่นแบบดังกล่าว ณ สำนักงานเขตท้องที่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน หากพ้นกำหนดดังกล่าวแล้ว ผู้รับประเมินหมดสิทธิที่จะขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ และไม่มีสิทธินำคดีสู่ศาล เว้นแต่ในปัญหาข้อกฎหมายซึ่งอ้างว่าเป็นเหตุหมดสิทธินั้น
เมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาเป็นประการใดจะแจ้งคำชี้ขาดไปยังผู้ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้รับประเมินยังไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจในคำชี้ขาดดังกล่าว ย่อมมีสิทธินำคดีสู่ศาลเพื่อแสดงให้ศาลเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้อง และขอให้ศาลเพิกถอนการประเมินนั้นเสีย แต่ต้องทำภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันรับแจ้งคำชี้ขาด และการยื่นฟ้องต้องเป็นที่พอใจศาลว่าผู้รับประเมินได้ชำระค่าภาษีทั้งสิ้นซึ่งถึงกำหนดชำระหรือจะถึงกำหนดชำระระหว่างคดียังอยู่ในศาล
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้มีการลดจำนวนเงินที่ประเมินไว้ให้ยื่นคำขอรับเงินคืนได้ที่สำนักงานเขต โดยแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมสำเนาใบเสร็จรับเงินประกอบด้วยกรณีที่ศาลพิพากษาให้ลดค่าภาษีศาลจะพิพากษาคืนเงินส่วนที่ลดนั้นให้ภายใน 3 เดือน
บทกำหนดโทษ
- ผู้รับประเมิน ผู้เช่า หรือผู้ครองทรัพย์สินกรอกรายการในแบบพิมพ์ตามความเป็นจริงตามความรู้เห็นของตนให้ครบถ้วน และรับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงวันที่ เดือน ปี และลงลายมือชื่อของตนกำกับไว้แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ หากผู้ใดละเลยไม่แสดงข้อความข้างต้น เว้นแต่จะเป็นด้วยเหตุสุดวิสัย ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
- ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจละเลยไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่แจ้งรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้นเมื่อเรียกร้อง ไม่นำพยานหลักฐานมาแสดง หรือไม่ตอบคำถามเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ซักถาม (ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มิได้รับคำตอบจากผู้รับประเมินภายในสิบวัน หรือได้รับคำตอบอันไม่เพียงพอ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกหมายเรียกผู้รับประเมินมา ณ สถานที่ซึ่งเห็นสมควรและให้นำพยานหลักฐานในเรื่องอสังหาริมทรัพย์นั้นมาแสดง กับให้มีอำนาจซักถามผู้รับประเมินในเรื่องใบแจ้งรายการนั้น) ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
- ผู้ใด
ก) โดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจยื่นข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบคำถามด้วยคำอันเป็นเท็จหรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือจัดหาทางให้ผู้อื่นหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร
ข) โดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉ้อโกง โดยอุบาย โดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดทั้งสิ้นที่จะหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การประเมินค่ารายปีของทรัพย์สิน ฉบับลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2535
: กฎกระทรวงฉบับที่ 2(พ.ศ.2541)ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475
รู้ทันกับการเสียภาษีโรงเรือน
มีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง แต่ถ้าคนให้เช่ากับเจ้าของเป็นคนละคนกันเมื่อไรก็ไม่ต้องมองตาคุมเชิงว่าจะตกได้แก่ใคร กฎหมายท่านกำหนดไว้ว่า เจ้าของโรงเรือนสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้รับหน้าที่อันทรงเกียรตินี้ไว้
เจ้าของอาจตกลงกันว่าตึกแถวชุดนี้ฉันให้พี่นำไปหาประโยชน์ได้ แต่ต้องจ่ายภาษีทั้งหลายเอาเอง หรือผู้ให้เช่าอาจผลักภาระนี้ให้กับ คนเช่ารับเหมาไปจ่ายเองก็ได้ หรือถ้าให้เช่าช่วงเป็นทอดต่อลงไป จะตกลงกันให้คนเช่าช่วงเป็นคนจ่ายภาษีส่วนนี้ให้ กฎหมายก็ไม่ว่ากระไรจะตกลงอย่างไรเป็นเรื่องส่วนตัวต่อเมื่อทางการไม่ได้รับเงินค่าภาษีโรงเรือนตามจำนวนและตามกำหนดที่ออกจดหมายแจ้งไปเมื่อไรนั่นแหละถึงจะว่ากล่าวเอาความเราได้เมื่อนั้น
งานนี้คนที่แบกรับเต็มๆคือ เจ้าของโรงเรือน ไม่ว่าคนเช่าลืมจ่ายหรือด้วยเหตุขัดข้องอื่นใด ก็ไม่สามารถโยนกลองโยนลูกอย่างไรให้พ้นตัวได้ เพราะกฎหมายท่านกำหนดคนรับผิดชอบไว้ชัดโดยจัดเอาไว้ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าของโรงเรือนต่อให้มีปัญหากับคนเช่าเพราะเขาผิดสัญญา ไม่เพียงไม่จ่ายค่าภาษีโรงเรือนเท่านั้น ผู้เช่ายังปิดห้องหลบหนีไปไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าอีกด้วยก็ตามที ก็ต้องไปทวงหนี้ติดตามกันเอาเอง
ทีนี้รายที่สัญญาเช่าครบกำหนดไปแล้วแต่ไม่ยอมออกไป จนต้องฟ้องร้องขับไล่ค่าเช่าก็ไม่ได้เพราะไม่ได้ให้ใครเช่าต่อ แบบนี้มีสงสัยว่าทำไมยังเรียกเก็บภาษีอีก เหตุผลก็มีอยู่ว่าถ้ามีสิ่งปลูกสร้างทางการเขาตั้งเป็นหลักเอาไว้ให้ต้องเสียภาษีโรงเรือนแม้แต่จะเปิดเป็นบริษัทของตัวเองไม่ได้ให้ใครเขาเช่าก็ต้องจ่ายภาษี เว้นแต่จะเป็นบ้านที่มีไว้อยู่เองหรือปิดตายไว้แต่ให้คนเฝ้า โดยไม่ได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้า ก็ได้รับยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี ดังนั้นการที่มีตึกแถวไว้แม้จะไม่ได้คนเช่าใหม่ก็ย่อมต้องเสียภาษีโรงเรือนต่อไปตามปกติ โดยคำนวณภาษีเอาจากค่ารายปีที่ดูจากเงินที่ควรได้หากจะให้เช่าทรัพย์สินนั้นเป็นเกณฑ์ถ้ามีค่าเช่าก็เอาเป็นหลักคำนวณค่ารายปีได้เลย
บางรายหัวใสจัดสรรสัญญาเช่าโดยเรียกเก็บเงินกินเปล่าก้อนหนึ่ง แล้วเก็บค่าเช่าเดือนละไม่กี่สตางค์ จะได้จ่ายภาษีโรงเรือนตามเงินค่าเช่าที่ใส่ไว้ในสัญญา เป็นเจตนาเลี่ยงภาษีเห็นๆ ทำได้แต่จะรอดหรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง
ภาษีแบบนี้เป็นภาษีแบบประเมิน คือพนักงานเจ้าหน้าที่จะเป็นคนประเมินเอาว่าทรัพย์สินนี้น่าจะหาประโยชน์ได้ปีละเท่าไร ต่อให้เขียนในสัญญาเช่าอย่างไรหากไม่สมเหตุผล เจ้าหน้าที่ก็ประเมินจากฐานที่เห็นว่าสมควรได้ ถ้าไม่ถูกใจก็ต้องอุทธรณ์ฟ้องร้องกันต่อไปอีกยืดยาว
เงินกินเปล่าเหล่านั้นศาลท่านก็ถือว่าเป็นค่าตอบแทนจากการให้เช่าซึ่งนับเป็นการชำระค่าเช่าล่วงหน้าที่ถูกนำมาคำนวณเป็นค่ารายปีด้วยก็ถือเสียว่าช่วยชาติ ช่วยบำรุงท้องถิ่นเข้าไว้ ได้ประโยชน์จากทรัพย์สินก็แบ่งๆ ให้รัฐไป ถ้าไม่อยากสละทรัพย์เพื่อชาติขนาดนั้นก็อ่านข้อยกเว้นของกฎหมายแล้วทำตัวให้เข้าข่ายในเกณฑ์แล้วกัน
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์: ถ้ามีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง
ภาษีโรงเรือนและที่ดินคืออะไร
ความหมายของภาษีโรงเรือนและที่ดินมีดังนี้
คือ ภาษีที่จัดเก็บจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โรงเรือน หมายความถึง บ้าน ตึกแถว อาคาร ร้านค้า สำนักงาน บริษัท ธนาคาร โรงแรม
โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล โรงเรียน แฟลต อาพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม หอพัก สนามม้า สนามมวย คลังสินค้า เรือนแพ ฯลฯ สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่น ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น
ท่าเรือ สะพาน อ่างเก็บน้ำ คานเรือ ถังเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ หมายถึง ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น และบริเวณต่อเนื่องซึ่งใช้ด้วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่ดิน หมายความรวมถึง ทางน้ำ บ่อน้ำ สระน้ำ ด้วย
ดังนั้นลักษณะของที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินก็คือ ทรัพย์สินต่างๆได้หาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี?
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่
ประเภททรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีได้แก่ อาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ กับที่ดินต่อเนื่องซึ่งใช้ปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ รวมถึงบริเวณที่ต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ ซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้นำทรัพย์สินดังกล่าวออกหาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์สินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
(1) โรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
(2) ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ซึ่งหมายความว่าเป็นที่ดินซึ่งใช้เป็นที่ปลูกสร้างโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ และที่ดินอันเป็นบริเวณต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติ ใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ
ทรัพย์สินที่ไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน?
ทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นภาษี ได้แก่
(1) พระราชวังอันเป็นส่วนของแผ่นดิน
(2) ทรัพย์สินของรัฐบาลที่ใช้ในกิจการของรัฐบาล หรือสาธารณะและทรัพย์สินของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่ใช้ในกิจการรถไฟโดยตรง
(3) ทรัพย์สินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียนสาธารณะ ซึ่งกระทำกิจการอันมิใช่เพื่อเป็นผลกำไรส่วนบุคคลและใช้เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา
(4) ทรัพย์สินซึ่งเป็นศาสนสมบัติอันใช้เฉพาะในศาสนกิจอย่างเดียวหรือเป็นที่อยู่ของสงฆ์
(5) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งปิดไว้ตลอดปีและเจ้าของมิได้อยู่เองหรือให้ผู้อื่นอยู่นอกจากคนเฝ้าในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง อย่างอื่น ๆ หรือในที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกัน
(6) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการเคหะแห่งชาติที่ผู้เช่าซื้ออาศัยอยู่เองโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม หรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2535 ยกเว้นพื้นที่อ่างเก็บน้ำ เขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ซึ่งเป็นที่ต่อเนื่อง
การขอลดหย่อนภาษี
การขอลดหย่อนภาษี การขอยกเว้น การงดเว้น การขอปลดภาษี การขอลดค่าภาษี จะทำได้ดังกรณีต่อไปนี้
- ถ้าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ถูกรื้อถอนหรือทำลาย ให้ลดยอดค่ารายปีของทรัพย์สินนั้นตามส่วนที่ถูกทำลายตลอดเวลาที่ยังไม่ได้ทำขึ้น แต่ในเวลานั้นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ นั้นต้องเป็นที่ซึ่งยังใช้ไม่ได้
- โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งทำขึ้นในระหว่างปีนั้น ให้ถือเอาเวลาซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ
นั้นได้มีขึ้นและสำเร็จจนควรเข้าอยู่ได้แล้วเท่านั้นมาเป็นเกณฑ์คำนวณค่ารายปี
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนใดติดตั้งส่วนควบที่สำคัญที่มีลักษณะเป็นเครื่องจักรกล เครื่องกระทำหรือเครื่องกำเนิดสินค้าเพื่อใช้ดำเนินการอุตสาหกรรมบางอย่าง เช่น โรงสี โรงเลื่อย ฯลฯ ขึ้นในโรงเรือนนั้น ๆ ในการประเมินให้ลดค่ารายปีลงเหลือหนึ่งในสามของค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น รวมทั้งส่วนควบดังกล่าว แล้วด้วย
- เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นได้รับความเสียหายเพราะโรงเรือนว่างลงหรือชำรุดจึงจำเป็นต้องซ่อมแซมส่วนสำคัญ
เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้นมีสิทธิขอลดภาษีได้ ทั้งนี้เป็นไปตามดุลพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะลดค่าภาษีตามส่วนที่เสียหายหรือปลดภาษีทั้งหมดก็ได้
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนมีเหตุเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินในปีที่ผ่านมาย่อมได้รับการยกเว้น งดเว้น ปลดภาษี หรือลดค่าภาษี แล้วแต่กรณี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ “ผู้รับประเมิน” ซึ่งหมายถึง เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่ถ้าที่ดินและอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นคนละเจ้าของกันให้เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอาคารโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
กำหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ
ให้ผู้รับประเมินยื่นแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.2) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
ฐานภาษี
ฐานภาษีคือ ค่ารายปีของทรัพย์สินซึ่งหมายถึง จำนวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ
ในกรณีที่ทรัพย์สินนั้นให้เช่าและค่าเช่านั้นเป็นจำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ให้ถือค่าเช่านั้นเป็นค่ารายปี
แต่ถ้ามีกรณีที่สมควรจะให้พิจารณาได้ว่าค่าเช่านั้นมิใช่จำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ หรือกรณีที่ไม่มีค่าเช่าเนื่องจากเจ้าของทรัพย์สินดำเนินกิจการเองหรือ ด้วยเหตุอื่น ๆ ให้พิจารณากำหนดค่ารายปีโดยเทียบเคียงกับค่ารายปีของทรัพย์สินที่ให้เช่าที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทำเลที่ตั้งและบริการสาธารณะซึ่งทรัพย์สินนั้นได้รับประโยชน์คล้ายคลึงกัน
อัตราภาษี
อัตราภาษีให้เสียในอัตราร้อยละสิบสองจุดห้าของค่ารายปี
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษี
การยื่นแบบพิมพ์
ให้ผู้รับประเมินขอรับแบบ ภ.ร.ด.2 ได้ที่สำนักงานเขตโดยกรอกรายการในแบบ ภ.ร.ด.2 ตามความเป็นจริงให้ครบถ้วน รับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงลายมือชื่อ วันที่ เดือน ปี กำกับไว้ แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ ณ สำนักงานเขตที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์ จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ (ให้ถือวันที่ส่งทางไปรษณีย์เป็นวันยื่นแบบพิมพ์)
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
กรณีโรงเรือนรายใหม่ : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่เคยยื่นแบบเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินมาก่อน ยื่นแบบเสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โดยยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ พร้อมสำเนาหลักฐานประกอบการพิจารณาได้แก่
- โฉนดที่ดินที่ปลูกสร้างโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
- หนังสือสัญญาขาย หรือสัญญาให้ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
- ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร, ใบอนุญาตให้ใช้อาคาร
- ใบให้เลขหมายประจำบ้าน
- สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของโรงเรือน, สำเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ/บัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
- หลักฐานการเปิดดำเนินกิจการ เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท/ ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม / ทะเบียนพาณิชย์
- สำเนางบการเงิน (กรณีเป็นนิติบุคคล)
- หลักฐานของสรรพากรเช่น ภ.พ.01, ภ.พ.09, ภ.พ.20
- ใบอนุญาตตั้งและ/หรือประกอบกิจการโรงงาน
- ใบอนุญาตติดตั้งเครื่องจักร
- ใบอนุญาตของฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
- ใบเสร็จค่าติดตั้งมิเตอร์น้ำประปา / ไฟฟ้า
- สัญญาเช่าโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)
- หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์โรงเรือนที่พิกัดภาษี
หมายเหตุ ให้ผู้รับประเมิน หรือ เจ้าของโรงเรือนถ่ายสำเนาหลักฐาน เอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้น พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องกำกับทุกฉบับ
กรณีโรงเรือนรายเก่า : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี พร้อมใบเสร็จรับเงิน การเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี) กรณีเจ้าของเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทพร้อมการยื่นแบบ ภ.ร.ด.2
การชำระภาษี
ผู้รับประเมินได้รับใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.8) ให้ชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบแจ้งการประเมิน โดยชำระภาษีได้ที่สำนักงานเขตซึ่งโรงเรือนนั้นตั้งอยู่หรือที่กองการเงิน สำนักการคลัง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การชำระภาษีจะชำระโดยการส่งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือเช็คที่ธนาคารรับรองทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ และให้ถือว่าวันส่งทางไปรษณีย์เป็นวันรับชำระภาษี
การขอผ่อนชำระภาษี
ผู้มีสิทธิขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวด โดยไม่เสียเงินเพิ่มมีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี จะขอผ่อนชำระค่าภาษีได้ โดยวงเงินค่าภาษีที่จะขอผ่อนชำระนั้น จะต้องมีจำนวนเงินค่าภาษีตั้งแต่เก้าพันบาทขึ้นไป
2. ได้ยื่นแบบพิมพ์เพื่อแจ้งรายการทรัพย์สินต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีนั้น
3. ได้แจ้งความจำนงขอผ่อนชำระค่าภาษีเป็นหนังสือต่อพนักงานเก็บภาษี ภายใน 30 วันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
การเสียเงินเพิ่ม
เงินค่าภาษีค้างชำระให้เพิ่มจำนวนดังอัตราต่อไปนี้
1. ถ้าชำระไม่เกินหนึ่งเดือนนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ให้เพิ่มร้อยละ 2.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
2. ถ้าเกินหนึ่งเดือนแต่ไม่เกินสองเดือนให้เพิ่มร้อยละ 5 ของค่าภาษีที่ค้าง
3. ถ้าเกินสองเดือนแต่ไม่เกินสามเดือนให้เพิ่มร้อยละ 7.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
4. ถ้าเกินสามเดือนแต่ไม่เกินสี่เดือนให้เพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษีที่ค้าง
ถ้ามิได้มีการชำระค่าภาษีและเงินเพิ่มภายในสี่เดือนกรุงเทพมหานครมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ซึ่งค้างชำระค่าภาษีได้
ถ้าค่าภาษีค้างอยู่และมิได้ชำระขณะเมื่อทรัพย์สินได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม เจ้าของเก่าและเจ้าของใหม่เป็นลูกหนี้ค่าภาษีนั้นร่วมกัน
การอุทธรณ์ภาษี
เมื่อผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือเจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ได้รับแจ้งการประเมินแล้วไม่พอใจในการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยเห็นว่าค่าภาษีสูงเกินไป หรือประเมินไม่ถูกต้องก็มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยกรอกในแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.9) และยื่นแบบดังกล่าว ณ สำนักงานเขตท้องที่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน หากพ้นกำหนดดังกล่าวแล้ว ผู้รับประเมินหมดสิทธิที่จะขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ และไม่มีสิทธินำคดีสู่ศาล เว้นแต่ในปัญหาข้อกฎหมายซึ่งอ้างว่าเป็นเหตุหมดสิทธินั้น
เมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาเป็นประการใดจะแจ้งคำชี้ขาดไปยังผู้ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้รับประเมินยังไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจในคำชี้ขาดดังกล่าว ย่อมมีสิทธินำคดีสู่ศาลเพื่อแสดงให้ศาลเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้อง และขอให้ศาลเพิกถอนการประเมินนั้นเสีย แต่ต้องทำภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันรับแจ้งคำชี้ขาด และการยื่นฟ้องต้องเป็นที่พอใจศาลว่าผู้รับประเมินได้ชำระค่าภาษีทั้งสิ้นซึ่งถึงกำหนดชำระหรือจะถึงกำหนดชำระระหว่างคดียังอยู่ในศาล
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้มีการลดจำนวนเงินที่ประเมินไว้ให้ยื่นคำขอรับเงินคืนได้ที่สำนักงานเขต โดยแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมสำเนาใบเสร็จรับเงินประกอบด้วยกรณีที่ศาลพิพากษาให้ลดค่าภาษีศาลจะพิพากษาคืนเงินส่วนที่ลดนั้นให้ภายใน 3 เดือน
บทกำหนดโทษ
- ผู้รับประเมิน ผู้เช่า หรือผู้ครองทรัพย์สินกรอกรายการในแบบพิมพ์ตามความเป็นจริงตามความรู้เห็นของตนให้ครบถ้วน และรับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงวันที่ เดือน ปี และลงลายมือชื่อของตนกำกับไว้แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ หากผู้ใดละเลยไม่แสดงข้อความข้างต้น เว้นแต่จะเป็นด้วยเหตุสุดวิสัย ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
- ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจละเลยไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่แจ้งรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้นเมื่อเรียกร้อง ไม่นำพยานหลักฐานมาแสดง หรือไม่ตอบคำถามเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ซักถาม (ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มิได้รับคำตอบจากผู้รับประเมินภายในสิบวัน หรือได้รับคำตอบอันไม่เพียงพอ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกหมายเรียกผู้รับประเมินมา ณ สถานที่ซึ่งเห็นสมควรและให้นำพยานหลักฐานในเรื่องอสังหาริมทรัพย์นั้นมาแสดง กับให้มีอำนาจซักถามผู้รับประเมินในเรื่องใบแจ้งรายการนั้น) ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
- ผู้ใด
ก) โดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจยื่นข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบคำถามด้วยคำอันเป็นเท็จหรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือจัดหาทางให้ผู้อื่นหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร
ข) โดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉ้อโกง โดยอุบาย โดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดทั้งสิ้นที่จะหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
: ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การประเมินค่ารายปีของทรัพย์สิน ฉบับลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2535
: กฎกระทรวงฉบับที่ 2(พ.ศ.2541)ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475
รู้ทันกับการเสียภาษีโรงเรือน
มีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง แต่ถ้าคนให้เช่ากับเจ้าของเป็นคนละคนกันเมื่อไรก็ไม่ต้องมองตาคุมเชิงว่าจะตกได้แก่ใคร กฎหมายท่านกำหนดไว้ว่า เจ้าของโรงเรือนสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้รับหน้าที่อันทรงเกียรตินี้ไว้
เจ้าของอาจตกลงกันว่าตึกแถวชุดนี้ฉันให้พี่นำไปหาประโยชน์ได้ แต่ต้องจ่ายภาษีทั้งหลายเอาเอง หรือผู้ให้เช่าอาจผลักภาระนี้ให้กับ คนเช่ารับเหมาไปจ่ายเองก็ได้ หรือถ้าให้เช่าช่วงเป็นทอดต่อลงไป จะตกลงกันให้คนเช่าช่วงเป็นคนจ่ายภาษีส่วนนี้ให้ กฎหมายก็ไม่ว่ากระไรจะตกลงอย่างไรเป็นเรื่องส่วนตัวต่อเมื่อทางการไม่ได้รับเงินค่าภาษีโรงเรือนตามจำนวนและตามกำหนดที่ออกจดหมายแจ้งไปเมื่อไรนั่นแหละถึงจะว่ากล่าวเอาความเราได้เมื่อนั้น
งานนี้คนที่แบกรับเต็มๆคือ เจ้าของโรงเรือน ไม่ว่าคนเช่าลืมจ่ายหรือด้วยเหตุขัดข้องอื่นใด ก็ไม่สามารถโยนกลองโยนลูกอย่างไรให้พ้นตัวได้ เพราะกฎหมายท่านกำหนดคนรับผิดชอบไว้ชัดโดยจัดเอาไว้ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าของโรงเรือนต่อให้มีปัญหากับคนเช่าเพราะเขาผิดสัญญา ไม่เพียงไม่จ่ายค่าภาษีโรงเรือนเท่านั้น ผู้เช่ายังปิดห้องหลบหนีไปไม่ได้ชำระเงินค่าเช่าอีกด้วยก็ตามที ก็ต้องไปทวงหนี้ติดตามกันเอาเอง
ทีนี้รายที่สัญญาเช่าครบกำหนดไปแล้วแต่ไม่ยอมออกไป จนต้องฟ้องร้องขับไล่ค่าเช่าก็ไม่ได้เพราะไม่ได้ให้ใครเช่าต่อ แบบนี้มีสงสัยว่าทำไมยังเรียกเก็บภาษีอีก เหตุผลก็มีอยู่ว่าถ้ามีสิ่งปลูกสร้างทางการเขาตั้งเป็นหลักเอาไว้ให้ต้องเสียภาษีโรงเรือนแม้แต่จะเปิดเป็นบริษัทของตัวเองไม่ได้ให้ใครเขาเช่าก็ต้องจ่ายภาษี เว้นแต่จะเป็นบ้านที่มีไว้อยู่เองหรือปิดตายไว้แต่ให้คนเฝ้า โดยไม่ได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้า ก็ได้รับยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี ดังนั้นการที่มีตึกแถวไว้แม้จะไม่ได้คนเช่าใหม่ก็ย่อมต้องเสียภาษีโรงเรือนต่อไปตามปกติ โดยคำนวณภาษีเอาจากค่ารายปีที่ดูจากเงินที่ควรได้หากจะให้เช่าทรัพย์สินนั้นเป็นเกณฑ์ถ้ามีค่าเช่าก็เอาเป็นหลักคำนวณค่ารายปีได้เลย
บางรายหัวใสจัดสรรสัญญาเช่าโดยเรียกเก็บเงินกินเปล่าก้อนหนึ่ง แล้วเก็บค่าเช่าเดือนละไม่กี่สตางค์ จะได้จ่ายภาษีโรงเรือนตามเงินค่าเช่าที่ใส่ไว้ในสัญญา เป็นเจตนาเลี่ยงภาษีเห็นๆ ทำได้แต่จะรอดหรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง
ภาษีแบบนี้เป็นภาษีแบบประเมิน คือพนักงานเจ้าหน้าที่จะเป็นคนประเมินเอาว่าทรัพย์สินนี้น่าจะหาประโยชน์ได้ปีละเท่าไร ต่อให้เขียนในสัญญาเช่าอย่างไรหากไม่สมเหตุผล เจ้าหน้าที่ก็ประเมินจากฐานที่เห็นว่าสมควรได้ ถ้าไม่ถูกใจก็ต้องอุทธรณ์ฟ้องร้องกันต่อไปอีกยืดยาว
เงินกินเปล่าเหล่านั้นศาลท่านก็ถือว่าเป็นค่าตอบแทนจากการให้เช่าซึ่งนับเป็นการชำระค่าเช่าล่วงหน้าที่ถูกนำมาคำนวณเป็นค่ารายปีด้วยก็ถือเสียว่าช่วยชาติ ช่วยบำรุงท้องถิ่นเข้าไว้ ได้ประโยชน์จากทรัพย์สินก็แบ่งๆ ให้รัฐไป ถ้าไม่อยากสละทรัพย์เพื่อชาติขนาดนั้นก็อ่านข้อยกเว้นของกฎหมายแล้วทำตัวให้เข้าข่ายในเกณฑ์แล้วกัน
../add_file/ ถ้ามีตึกรามบ้านช่องห้องแถวให้คนเช่าเรามีหน้าที่ต้องเสียภาษีสองอย่าง คือ ภาษีเงินได้ที่คนเช่าจ่ายให้มา กับ ภาษีโรงเรือนที่เป็นภาษีท้องถิ่น และต้องมีการส่งบิลเรียกเก็บที่เรียกเป็นภาษาทางการว่าหนังสือแจ้งการประเมินจากเจ้าหน้าที่ โดยเสียเพียง ปีละครั้ง
ภาษีโรงเรือนและที่ดินคืออะไร
ความหมายของภาษีโรงเรือนและที่ดินมีดังนี้
คือ ภาษีที่จัดเก็บจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โรงเรือน หมายความถึง บ้าน ตึกแถว อาคาร ร้านค้า สำนักงาน บริษัท ธนาคาร โรงแรม
โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล โรงเรียน แฟลต อาพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม หอพัก สนามม้า สนามมวย คลังสินค้า เรือนแพ ฯลฯ สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่น ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น
ท่าเรือ สะพาน อ่างเก็บน้ำ คานเรือ ถังเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ หมายถึง ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น และบริเวณต่อเนื่องซึ่งใช้ด้วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่ดิน หมายความรวมถึง ทางน้ำ บ่อน้ำ สระน้ำ ด้วย
ดังนั้นลักษณะของที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินก็คือ ทรัพย์สินต่างๆได้หาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี?
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่
ประเภททรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีได้แก่ อาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ กับที่ดินต่อเนื่องซึ่งใช้ปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ รวมถึงบริเวณที่ต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับอาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ ซึ่งเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้นำทรัพย์สินดังกล่าวออกหาผลประโยชน์ตอบแทนนอกเหนือจากการอยู่อาศัยของตนเองโดยปกติหรือให้ผู้อื่นนำ ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์สินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
(1) โรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
(2) ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ซึ่งหมายความว่าเป็นที่ดินซึ่งใช้เป็นที่ปลูกสร้างโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ และที่ดินอันเป็นบริเวณต่อเนื่องกันซึ่งตามปกติ ใช้ประโยชน์ไปด้วยกันกับโรงเรือน อาคาร สิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ
ทรัพย์สินที่ไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน?
ทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นภาษี ได้แก่
(1) พระราชวังอันเป็นส่วนของแผ่นดิน
(2) ทรัพย์สินของรัฐบาลที่ใช้ในกิจการของรัฐบาล หรือสาธารณะและทรัพย์สินของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่ใช้ในกิจการรถไฟโดยตรง
(3) ทรัพย์สินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียนสาธารณะ ซึ่งกระทำกิจการอันมิใช่เพื่อเป็นผลกำไรส่วนบุคคลและใช้เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา
(4) ทรัพย์สินซึ่งเป็นศาสนสมบัติอันใช้เฉพาะในศาสนกิจอย่างเดียวหรือเป็นที่อยู่ของสงฆ์
(5) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งปิดไว้ตลอดปีและเจ้าของมิได้อยู่เองหรือให้ผู้อื่นอยู่นอกจากคนเฝ้าในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง อย่างอื่น ๆ หรือในที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกัน
(6) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการเคหะแห่งชาติที่ผู้เช่าซื้ออาศัยอยู่เองโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม หรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2535 ยกเว้นพื้นที่อ่างเก็บน้ำ เขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ซึ่งเป็นที่ต่อเนื่อง
การขอลดหย่อนภาษี
การขอลดหย่อนภาษี การขอยกเว้น การงดเว้น การขอปลดภาษี การขอลดค่าภาษี จะทำได้ดังกรณีต่อไปนี้
- ถ้าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ถูกรื้อถอนหรือทำลาย ให้ลดยอดค่ารายปีของทรัพย์สินนั้นตามส่วนที่ถูกทำลายตลอดเวลาที่ยังไม่ได้ทำขึ้น แต่ในเวลานั้นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ นั้นต้องเป็นที่ซึ่งยังใช้ไม่ได้
- โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ ซึ่งทำขึ้นในระหว่างปีนั้น ให้ถือเอาเวลาซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ
นั้นได้มีขึ้นและสำเร็จจนควรเข้าอยู่ได้แล้วเท่านั้นมาเป็นเกณฑ์คำนวณค่ารายปี
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนใดติดตั้งส่วนควบที่สำคัญที่มีลักษณะเป็นเครื่องจักรกล เครื่องกระทำหรือเครื่องกำเนิดสินค้าเพื่อใช้ดำเนินการอุตสาหกรรมบางอย่าง เช่น โรงสี โรงเลื่อย ฯลฯ ขึ้นในโรงเรือนนั้น ๆ ในการประเมินให้ลดค่ารายปีลงเหลือหนึ่งในสามของค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น รวมทั้งส่วนควบดังกล่าว แล้วด้วย
- เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นได้รับความเสียหายเพราะโรงเรือนว่างลงหรือชำรุดจึงจำเป็นต้องซ่อมแซมส่วนสำคัญ
เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้นมีสิทธิขอลดภาษีได้ ทั้งนี้เป็นไปตามดุลพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะลดค่าภาษีตามส่วนที่เสียหายหรือปลดภาษีทั้งหมดก็ได้
- ถ้าเจ้าของโรงเรือนมีเหตุเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินในปีที่ผ่านมาย่อมได้รับการยกเว้น งดเว้น ปลดภาษี หรือลดค่าภาษี แล้วแต่กรณี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ “ผู้รับประเมิน” ซึ่งหมายถึง เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่ถ้าที่ดินและอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นคนละเจ้าของกันให้เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอาคารโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
กำหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ
ให้ผู้รับประเมินยื่นแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.2) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
ฐานภาษี
ฐานภาษีคือ ค่ารายปีของทรัพย์สินซึ่งหมายถึง จำนวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ
ในกรณีที่ทรัพย์สินนั้นให้เช่าและค่าเช่านั้นเป็นจำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ให้ถือค่าเช่านั้นเป็นค่ารายปี
แต่ถ้ามีกรณีที่สมควรจะให้พิจารณาได้ว่าค่าเช่านั้นมิใช่จำนวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ หรือกรณีที่ไม่มีค่าเช่าเนื่องจากเจ้าของทรัพย์สินดำเนินกิจการเองหรือ ด้วยเหตุอื่น ๆ ให้พิจารณากำหนดค่ารายปีโดยเทียบเคียงกับค่ารายปีของทรัพย์สินที่ให้เช่าที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทำเลที่ตั้งและบริการสาธารณะซึ่งทรัพย์สินนั้นได้รับประโยชน์คล้ายคลึงกัน
อัตราภาษี
อัตราภาษีให้เสียในอัตราร้อยละสิบสองจุดห้าของค่ารายปี
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษี
การยื่นแบบพิมพ์
ให้ผู้รับประเมินขอรับแบบ ภ.ร.ด.2 ได้ที่สำนักงานเขตโดยกรอกรายการในแบบ ภ.ร.ด.2 ตามความเป็นจริงให้ครบถ้วน รับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงลายมือชื่อ วันที่ เดือน ปี กำกับไว้ แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ ณ สำนักงานเขตที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์ จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ (ให้ถือวันที่ส่งทางไปรษณีย์เป็นวันยื่นแบบพิมพ์)
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
กรณีโรงเรือนรายใหม่ : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่เคยยื่นแบบเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินมาก่อน ยื่นแบบเสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น โดยยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ พร้อมสำเนาหลักฐานประกอบการพิจารณาได้แก่
- โฉนดที่ดินที่ปลูกสร้างโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
- หนังสือสัญญาขาย หรือสัญญาให้ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
- ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร, ใบอนุญาตให้ใช้อาคาร
- ใบให้เลขหมายประจำบ้าน
- สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของโรงเรือน, สำเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ/บัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
- หลักฐานการเปิดดำเนินกิจการ เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท/ ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม / ทะเบียนพาณิชย์
- สำเนางบการเงิน (กรณีเป็นนิติบุคคล)
- หลักฐานของสรรพากรเช่น ภ.พ.01, ภ.พ.09, ภ.พ.20
- ใบอนุญาตตั้งและ/หรือประกอบกิจการโรงงาน
- ใบอนุญาตติดตั้งเครื่องจักร
- ใบอนุญาตของฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
- ใบเสร็จค่าติดตั้งมิเตอร์น้ำประปา / ไฟฟ้า
- สัญญาเช่าโรงเรือนที่พิกัดภาษี
- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)
- หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์โรงเรือนที่พิกัดภาษี
หมายเหตุ ให้ผู้รับประเมิน หรือ เจ้าของโรงเรือนถ่ายสำเนาหลักฐาน เอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้น พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องกำกับทุกฉบับ
กรณีโรงเรือนรายเก่า : ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างยื่นแบบ ภ.ร.ด.2 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี พร้อมใบเสร็จรับเงิน การเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี) กรณีเจ้าของเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทพร้อมการยื่นแบบ ภ.ร.ด.2
การชำระภาษี
ผู้รับประเมินได้รับใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.8) ให้ชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับใบแจ้งการประเมิน โดยชำระภาษีได้ที่สำนักงานเขตซึ่งโรงเรือนนั้นตั้งอยู่หรือที่กองการเงิน สำนักการคลัง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การชำระภาษีจะชำระโดยการส่งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือเช็คที่ธนาคารรับรองทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้ และให้ถือว่าวันส่งทางไปรษณีย์เป็นวันรับชำระภาษี
การขอผ่อนชำระภาษี
ผู้มีสิทธิขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวด โดยไม่เสียเงินเพิ่มมีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี จะขอผ่อนชำระค่าภาษีได้ โดยวงเงินค่าภาษีที่จะขอผ่อนชำระนั้น จะต้องมีจำนวนเงินค่าภาษีตั้งแต่เก้าพันบาทขึ้นไป
2. ได้ยื่นแบบพิมพ์เพื่อแจ้งรายการทรัพย์สินต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีนั้น
3. ได้แจ้งความจำนงขอผ่อนชำระค่าภาษีเป็นหนังสือต่อพนักงานเก็บภาษี ภายใน 30 วันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
การเสียเงินเพิ่ม
เงินค่าภาษีค้างชำระให้เพิ่มจำนวนดังอัตราต่อไปนี้
1. ถ้าชำระไม่เกินหนึ่งเดือนนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ให้เพิ่มร้อยละ 2.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
2. ถ้าเกินหนึ่งเดือนแต่ไม่เกินสองเดือนให้เพิ่มร้อยละ 5 ของค่าภาษีที่ค้าง
3. ถ้าเกินสองเดือนแต่ไม่เกินสามเดือนให้เพิ่มร้อยละ 7.5 ของค่าภาษีที่ค้าง
4. ถ้าเกินสามเดือนแต่ไม่เกินสี่เดือนให้เพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษีที่ค้าง
ถ้ามิได้มีการชำระค่าภาษีและเงินเพิ่มภายในสี่เดือนกรุงเทพมหานครมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ซึ่งค้างชำระค่าภาษีได้
ถ้าค่าภาษีค้างอยู่และมิได้ชำระขณะเมื่อทรัพย์สินได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม เจ้าของเก่าและเจ้าของใหม่เป็นลูกหนี้ค่าภาษีนั้นร่วมกัน
การอุทธรณ์ภาษี
เมื่อผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือเจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ได้รับแจ้งการประเมินแล้วไม่พอใจในการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยเห็นว่าค่าภาษีสูงเกินไป หรือประเมินไม่ถูกต้องก็มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยกรอกในแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.9) และยื่นแบบดังกล่าว ณ สำนักงานเขตท้องที่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน หากพ้นกำหนดดังกล่าวแล้ว ผู้รับประเมินหมดสิทธิที่จะขอให้พิจารณาการประเมินใหม่ และไม่มีสิทธินำคดีสู่ศาล เว้นแต่ในปัญหาข้อกฎหมายซึ่งอ้างว่าเป็นเหตุหมดสิทธินั้น
เมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาเป็นประการใดจะแจ้งคำชี้ขาดไปยังผู้ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้รับประเมินยังไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจในคำชี้ขาดดังกล่าว ย่อมมีสิทธินำคดีสู่ศาลเพื่อแสดงให้ศาลเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้อง และขอให้ศาลเพิกถอนการประเมินนั้นเสีย แต่ต้องทำภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันรับแจ้งคำชี้ขาด และการยื่นฟ้องต้องเป็นที่พอใจศาลว่าผู้รับประเมินได้ชำระค่าภาษีทั้งสิ้นซึ่งถึงกำหนดชำระหรือจะถึงกำหนดชำระระหว่างคดียังอยู่ในศาล
การขอคืนเงินค่าภาษี
ในกรณีที่มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้มีการลดจำนวนเงินที่ประเมินไว้ให้ยื่นคำขอรับเงินคืนได้ที่สำนักงานเขต โดยแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมสำเนาใบเสร็จรับเงินประกอบด้วยกรณีที่ศาลพิพากษาให้ลดค่าภาษีศาลจะพิพากษาคืนเงินส่วนที่ลดนั้นให้ภายใน 3 เดือน
บทกำหนดโทษ
- ผู้รับประเมิน ผู้เช่า หรือผู้ครองทรัพย์สินกรอกรายการในแบบพิมพ์ตามความเป็นจริงตามความรู้เห็นของตนให้ครบถ้วน และรับรองความถูกต้องของข้อความดังกล่าว พร้อมทั้งลงวันที่ เดือน ปี และลงลายมือชื่อของตนกำกับไว้แล้วส่งคืนไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ การส่งแบบพิมพ์จะนำส่งด้วยตนเอง มอบหมายให้ผู้อื่นไปส่งแทน หรือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ หากผู้ใดละเลยไม่แสดงข้อความข้างต้น เว้นแต่จะเป็นด้วยเหตุสุดวิสัย ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
- ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจละเลยไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่แจ้งรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้นเมื่อเรียกร้อง ไม่นำพยานหลักฐานมาแสดง หรือไม่ตอบคำถามเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ซักถาม (ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มิได้รับคำตอบจากผู้รับประเมินภายในสิบวัน หรือได้รับคำตอบอันไม่เพียงพอ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกหมายเรียกผู้รับประเมินมา ณ สถานที่ซึ่งเห็นสมควรและให้นำพยานหลักฐานในเรื่องอสังหาริมทรัพย์นั้นมาแสดง กับให้มีอำนาจซักถามผู้รับประเมินในเรื่องใบแจ้งรายการนั้น) ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
- ผู้ใด
ก) โดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจยื่นข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบคำถามด้วยคำอันเป็นเท็จหรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือจัดหาทางให้ผู้อื่นหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร
ข) โดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉ้อโกง โดยอุบาย โดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดทั้งสิ้นที่จะหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการคำนวณค่ารายปีแห่งทรัพย์สินของตนตามที่ควร ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ที่มา
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 247